1) ชื่อห้องปฏิบัติการวิจัย

เลเซอร์และทัศนศาสตร์ประยุกต์ (Laser and Applied Optics)

ภาควิชา

ฟิสิกส์

2) รายชื่อสมาชิก

1) นายสำราญ ลาชโรจน์ Mr.Samran Lacharojana

2) น.ส.ชุลีพร วงศ์ธวัชนุกูล Miss Chuleeporn Wongtawatnugool

3) นายธงชัย ศรชัยยืน Mr.Tongchai Sornchaiyeun

4) น.ส.สันทนา เจียกใจ Miss Santana Chiakchai

3) หลักการ และเหตุผล

พัฒนาการด้านการเรียน การสอน การวิจัย ในแขนงวิชาต่างๆในปัจจุบัน ทั้งด้านวิชาการโดยตรง และการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน หรือเพื่อให้สามารถนำไปใช้ในด้านการผลิตระดับอุตสาหกรรม จะเห็นได้ว่ามีการประยุกต์ใช้เลเซอร์และวิชาทัศนศาสตร์ อย่างกว้างขวาง เช่น การสื่อสารโทรคมนาคมโดยใช้แสง การบันทึกข้อมูลโดยใช้ Optical Signal บน Optical Diskette การประยุกต์ใช้ในทางการแพทย์ เช่น การผ่าตัด การรักษาโดยใช้แสงเลเซอร์ รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับยุทธปัจจัยต่างๆ เป็นต้น วิธีการทั้งในการใช้งานของวิชาทัศนศาสตร์และ เลเซอร์ ในส่วนที่เกี่ยวกับด้านการวิจัยระดับสูงจนถึงการใช้งานระดับชาวบ้านโดยทั่วไปดังกล่าวแล้ว อาศัยการประยุกต์ใช้เทคนิคอย่างง่ายทางแสงแทบทั้งสิ้น ความยากลำบากเพียงประการเดียวของการสร้าง/การใช้ หรือการดูแลอุปกรณีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีดังกล่าวคือ การขาดความเข้าในและการขาดทักษะในด้านปฏิบัติการทางแสงระดับพื้นฐาน การขอจัดตั้งห้องปฏิบัติการวิจัย "เลเซอร์ and Applied Optics" จะช่วยให้มีการประสานความเข้าใจ มีการสร้างทักษะที่เกี่ยวข้องกับการนำทัศนศาสตร์และ เลเซอร์ ไปใช้ในด้านการเรียนการสอน และ การวิจัยภายให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

4) วัตถุประสงค์และเป้าหมาย

5) งานวิจัยหลักที่กำลังดำเนินงานอยู่

งานวิจัยหลักที่ดำเนินอยู่ เป็นการศึกษาฟิสิกส์พื้นฐาน (Basic Physics) อันเป็นความสนใจของสมาชิกในกลุ่มเอง และเพื่อเป็นการสนับสนุนการเรียนการสอนของภาควิชาฟิสิกส์ โดยให้เป็นหัวข้อการวิจัยของนักศึกษาในระดับปริญญาตรี โท และเอก สำหรับนักศึกษาสาขาวิชา ฟิสิกส์ วัสดุศาสตร์ และ ฟิสิกส์ประยุกต์ เทคโนโลยีที่ใช้ในการศึกษางานวิจัยดังกล่าวอาศัย Light Scattering and Photon Correlation Technique และ Interferometry Technique งานที่กำลังสนใจอยู่คือ

โดยเน้นถึงการใช้แสงเลเซอร์ และการตรวจวัดความเข้มแสง ณ ตำแหน่ง และ/หรือ เวลาต่างๆกัน

6) อุปกรณ์ / เครื่องมือวิจัยหลักที่มีอยู่แล้ว

7) ผลสัมฤทธิ์ทางการวิจัยจนถึงปัจจุบัน

8) การให้บริการวิชาการฯ

9) ศักยภาพและความพร้อมในการวิจัยและพัฒนาร่วมกับภาคเอกชน

มีความพร้อมมากพอสมควร หากสามารถมีความสนใจในปัญหาร่วมกันได้ น่าจะเป็นประโยชน์เป็นอย่างมากในภาพรวม