รายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการ

 



แบบฟอร์มประเมินและปรับปรุงแผนปฏิบัติการ
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

1) ช่วงเวลาการประเมิน

 

ประเมิน ครั้งที่ 1 การดำเนินงานระหว่าง เดือน กุมภาพันธ์ 2545- กรกฎาคม 2545

/ ประเมิน ครั้งที่ 2 การดำเนินงานระหว่าง เดือน สิงหาคม 2545- มกราคม 2546

2) พันธกิจและเป้าหมาย

ผลิตบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์ที่มีคุณภาพและคุณธรรมตลอดจนการให้บริการวิชาการพื้นฐานแก่คณะต่างๆ

3) ผลการประเมินการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ

รายการประเมิน

เป็นไปตามแผน

ไม่เป็นไปตามแผน

หมายเหตุ

1. ดำเนินงานตามพันธกิจ

/

 

 

2. การดำเนินกิจกรรมตามระยะเวลาที่กำหนด

/

 

 

3. การบรรลุเป้าหมายของการปฏิบัติงาน

/

 

 

4) ข้อเสนอแนะ ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข และการนำผลการประเมินมาปรับปรุงแผนการดำเนินงาน

ปัญหา/อุปสรรค
แนวทางแก้ไข

  การนำผลการประเมินมา
ปรับปรุงแผนการดำเนินงาน

1.บุคลากรของคณะวิทยาศาสตร์บางส่วน เริ่มเห็นความสำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา 1.ประชาสัมพันธ์ และเพิ่มการมีส่วนร่วมในการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 1.ปรับปรุงรูปแบบการประชาสัมพันธและการให้ความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา

2.จากการประเมินระบบประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษา พบว่า มีปัญหาทั้งสองระบบ
2.1 ระบบออนไลน์สะดวก วิเคราะห์ข้อมูลรวดเร็ว แต่นักศึกษาเข้าไปประเมินน้อย
2.2 ระบบประเมินโดยใช้แบบสอบถาม สิ้นเปลืองประมาณ และ ใช้เวลาในการวิเคราะห์นานเกินไป

กระตุ้นให้อาจารย์และนักศึกษาเห็นความสำคัญของการประเมินการสอนโดยนักศึกษา
2.1 - ประชาสัมพันธ์และแนะนำการ ใช้ระบบออนไลน์อย่างต่อเนื่อง
      - พัฒนาและปรับปรุงโปรแกรมเพื่อให้สะดวกในการใช้งานและใช้ข้อมูลแบบมีส่วนร่วมเต็มรูปแบบ
2.2 ปรับขั้นตอนและกระบวนการวิเคราะห์ให้รวดเร็วขึ้น

2.1 - ติดโปสเตอรประชาสัมพันธ์และแนะนำการใช้ระบบอย่างต่อเนื่อง
     - เพิ่มการประกาศคะแนนในระบบประเมินออนไลน์
2.2 กำหนดเวลาในการส่งแบบสอบถามให้ชัดเจน

3. จากผลการประเมินการสอนของอาจารย์พบว่าอุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอนยังไม่เหมาะสม
ข้อเสนอแนะ ปัญหา/อุปสรรค

3. กระตุ้นให้อาจารย์ผลิต พัฒนาและปรับปรุงอุปกรณ์และสื่อการสอน
แนวทางแก้ไข

3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการสร้างกระบวนวิชาออนไลน์ผ่านระบบของสำนักบริการวิชาการ
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงแผนการดำเนินงาน

4. การให้บริการห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์นอกเวลาราชการยังไม่เพียงพอกับความต้องการผู้ใช้บริการ

4. ขยายการให้บริการห้องสมุดคณะ นอกเวลาปกติปกติ

4.1 ไม่สามารถทำได้เนื่องจากบุคลากรไม่เพียงพอ และไม่คุ้มค่ากับการขยายเวลา
4.2 ได้ปรับเปลี่ยนมาเป็นการพัฒนาโปรแกรมฐานข้อมูลที่ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นนอกเวลาได้

5.จาการประเมินคุณภาพการศึกษาพบว่าระบบติดตามการใช้ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ รวมทั้งอุปกรณ์ และสื่อการสอน ยังไม่เป็นระบบ

5.สร้างระบบระบบตรวจสอบและติดตามการใช้ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ รวมทั้งอุปกรณ์ และสื่อการสอน

5.สร้างระบบระบบตรวจสอบและติดตามการใช้ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ รวมทั้งอุปกรณ์ และสื่อการสอน

6.ตัวเลขจาก KQI ชี้ให้เห็นแนวโน้มที่ลดลงของการรับเข้า และการคงอยู่ของนักศึกษา

6.. สร้างแรงจูงใจและประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนเลือกคณะวิทยาศาสตร์

6.1 จัดสัปดาห์แนะนำการเข้าสาขาวิชาเอก เพื่อให้นักศึกษาทราบข้อมูลสาขาวิชา เตรียมการประชาสัมพันธ์หลักสูตรเชิงรุก
6.2 หาข้อมูลปรับรูปแบบการรับเข้า

7. ตัวเลขจาก KQI ชี้ให้เห็นแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นของนักศึกษาที่ไม่จบตามแผนการศึกษา

7.กระตุ้นให้สาขา/ภาควิชาต่างๆได้เห็นความสำคัญและหาทางแก้ไข

7.รวบรวมและแจ้งข้อมูลจำนวนนักศึกษา ตามแผน ที่รับจริง และเวลาที่ใช้ในการสำเร็จการศึกษาให้สาขาวิชาทราบและหาทางแก้ไข

8. จัดระบบอาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 1 ให้เป็นระบบทีมอาจารย์ที่ปรึกษา 8. พัฒนาระบบทีมอาจารย์ที่ปรึกษา 8. สนับสนุนให้ทีมอาจารย์ที่ปรึกษาจัดกิจกรรมวิชาการ และเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม พบว่า นักศึกษามีโอกาสพบที่ปรึกษามากขึ้น และสามารถเพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์และนักศึกษา มากขึ้น




ลงชื่อ ...................................................
(รองศาสตราจารย์ ดร. เรืองศรี วัฒเนสก์)
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
ลงชื่อ ...................................................
(iรองศาสตราจารย ์ ดร. เกรียงศักดิ์ ไชยโรจน์)
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา

ลงชื่อ ...................................................
(iรองศาสตราจารย ปรีชา ล่ามช้าง)
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ