1 ชื่อห้องปฏิบัติการวิจัย | อณูชีววิทยา Molecular Biology |
ภาควิชา | ชีววิทยา |
2 สมาชิก
1) รศ. ดร. สมบูรณ์ อนันตลาโภชัย | ผู้ประสานงานหน่วยวิจัย |
2) รศ. ดร. จินดา ศรศรีวิชัย 3) ดร. กอบเกียรติ แสงนิล 4) นายสุทัศน์ สุภาษี |
สมาชิก สมาชิก สมาชิก |
3
หลักการและเหตุผล
วิทยาการด้านเทคโนโลยีชั้นสูงนับวันยิ่งเป็นที่ต้องการของประเทศมากขึ้นเป็นลำดับ
เนื่องจากความรู้ทางด้านนี้สามารถที่จะนำมาประยุกต์เพื่อช่วยในการพัฒนาประเทศให้เจริญรุดหน้าขึ้น
ในปีที่ผ่านประเทศไทยได้พัฒนาจากประเทศเกษตรกรรม มาเป็นประเทศเกษตรอุตสาหะกรรมอย่างรวดเร็ว
ในช่วงเวลาที่ผ่านมา อันส่งผลให้การเติบโตทางเศษฐกิจของประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับสากลแล้ว
แต่ในปัจจุบันเนื่องจากปัญหาทางเศษฐกิจภายในประเทศส่งผลให้เกิดค่าเงินลอยตัว
ก่อให้เกิดการติดขัดของกระแสเงินหมุนเวียนภายใน ดังนั้นประทศไทยจะต้องพึ่งรายได้จากการส่งสินค้าออก
แต่สินค้าที่ส่งออกจักต้องคำนึงถึงคุณภาพ เพราะเป็นการแข่งขันในระดับสากล ปัจจัยหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพของสินค้าส่งออกคือ
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และเนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม สินค้าที่ประเทศไทยควรคำนึงคือ
สินค้าทางด้านเกษตร ด้วยเหตุนี้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยเฉพาะทางสาขา อณูชีวิทยา
หรือ พันธุวิศวกรรม จึงถือว่ามีความจำเป็นอย่างยิ่งยวดในการที่จะนำมาใช้เป็น "
เครื่องมือ " ในการที่จะนำมาใช้สนับสนุนและส่งเสริม ทั้งทางด้าน คุณภาพ และปริมาณ
ของผลผลิต ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์กับสินค้าไม่ว่าทางด้านการเกษตรกรรม การประมง
เภสัชกรรม อุตสาหะกรรม และแม้กระทั่งการแพทย์
ปัจจุบันวิวัฒนาการของงานทางด้านอณุชีวิทยาดำเนินไปอย่างรวดเร็วมาก
โดยเฉพาะ การประยุกต์ใช้ในงานด้านการปรับปรุงพืชผลทางการเกษตร โดยอาศัยหลักที่ว่า
นำยีนที่ต้องการส่งถ่ายให้แก่พืชที่ได้รับการคัดเลือก เพื่อสร้างเป็นพืชสายพันธ์
(พืชที่มีการตัดต่อยีน) ที่มีลักษณะตามที่ต้องการได้ ตัวอย่างพืชที่ผ่านการตัดต่อยีนและมีลักษณะที่ต้องการได้แก่
มะเขือเทศที่สามารถควบคุมการสุกของผลได้ หรือ ไม้ดอกบางชนิด เช่น กล้วยไม้ ที่สามารถคัดเลือกสีได้ตามที่ต้องการ
หรือ การสร้างสายพันธุ์ฝ้ายที่ต้านทานโรค และแมลงศัตรูพืชเช่น หนอนเจาะสมอฝ้ายได้
เป็นต้น
จะเห็นได้ว่างานทางด้าน อณูชีวิทยา เป็นวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีที่จำเป็นของประเทศทั้งในปัจจุบัน และในอนาคต
4
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
- เพื่อประยุกต์งานทางด้านอณูชีววิทยา
/ พันธุวิศวกรรม มาใช้ในการจำแนกสิ่งมีชีวิต ทั้งพืช และสัตว์ต่างชนิด (Biodiversity)
- เพื่อประโยชน์ในการจดสิทธิบัตรทางพันธุกรรมในอนาคต
- เพื่อประยุกต์งานทางด้านอณูชีววิทยา
/ พันธุวิศวกรรม มาวิจัยร่วมกับงานทางสาขาอื่น อาทิเช่น สรีระทยา (Physiology),
วิทยาการก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว(Postharvest technology), การจัดจำแนกพืชและสัตว์
(Taxonomy) เป็นต้น
- เพื่อประยุกต์งานทางด้าน อณูชีววิทยา
/ พันธุวิศวกรรม มาสนับสนุนวิจัยสาขาวิชาต่างๆ เช่น การเกษตร การประมง เภสัชกรรม
จุลชีววิทยา และการแพทย์ เป็นต้น
- เพื่อประสานการทำงานร่วมกันของหลายสาขาวิชา
อันจะนำไปสู่การวิจัยที่ครบวงจร
5
งานวิจัยที่กำลังดำเนินการอยู่
1 การศึกษาพันธุกรรมพืชระดับอณูโมเลกุล
: พืชกลุ่มตระกูลกระเจียว (Curcuma) และ ขิง (Zingiber)
(ทุนวิจัยในพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราสุดา
สยามบรมราชกุมารี ใน โครงการอนุรักษ์พันธ์พืช : 2542-2544
2 การศึกษาความแปรปรวนทางพันธุกรรมระดับโมเลกุลของ
ลิ้นจี่ (Litchi spp.) ของไทย โดยเทคนิคอณูชีววิทยา
(ทุนวิจัย สกว.: 2542-2544)
3 ) การศึกษาและจำแนกพันธุ์ลำไยโดยการวิเคราะห์ลายพิมพ์ดีเอนเอ(
Classification and Identification in longan using DNA Fingerprinting technique)
(ทุนวิจัยจากศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย
และ โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษา ฯ (BRT) : 2541-2542)
4 ลำอนุภาคควอนตัมกับสสาร
(ผู้ร่วมโครงการ; ทุนวิจัย เมธีวิจัยอาวุโส
สกว. 2544- 2547)
6
อุปกรณ์เครื่องมือวิจัยหลักที่มีอยู่แล้ว
- table centrifuge
- ice making machine
- mechanic pipette
-incubator oven
- electrophoresis apparatus
- power supply
- UV light box
- refrigerators
- camera detection
- PCR machine
- hybridization oven
- freezer
- microwave
- incubator
- ultracentrifuge
- sequencer
7 ผลสัมฤทธิ์ของงานวิจัยจนถึงปัจจุบัน
1 Apavatjrut, P., Anuntalabhochai,
S., Sirirugsa,P., and Alisi, C.(1999) Molecular Markers in the Identification
of some early flowering Curcuma L. (Zingiberraceae) species. Annals of Botany.
84:529-534.
2 Topoonyanont, N., Nuamjaroen, P.,
Manochai, and Anuntalabhocahi, S. (2000). Flower Induction in spinach (Spinacia
oleracea L) by Potassium Chlorate and 5-Azacytidine. 26th Conf. Sci. & Tech.
of Thailand, Queen Sirikit National Conventional Center, BKK, Thailand. October
18-20, 2000
3 Somboon Anuntalabhochai, Sugunya
Pitakrattanaukool, Liang Deng Yu, and Thirapat Vilaithong (2000). DNA Transfer
into E. coli Using Low Energy Ion Beam Bombardment . Biotechnology: Impacts
$ Trends. The 12th Annual Meeting of Thai Society for Biotechnology. !-3 November
2000. Felix Hotel, Kanchanaburi, Thailand.
4 Somboon Anuntalabhochai, Junjeera
Chiangda, Ruttaporn Chundet, and Pimchai Apavatjrut. (2000). Genetic Diversity
within Lychee (Litchi chinensis Sonn.) based on RAPD analysis. International
Symposium on Tropical and Subtropical Fruits. 26th Nov - 1st Dec 2000. Cairns,
Australia.
5 Sripalwit,P., Wongsawad, C and AnuntalabhochaI,
S. (2000). Genetic diversity of rumen cow flukes in Amphur Meuang of Chiang
Mai and Lumpoon provinces. The 3 rd Seminar on Food-Borne Parasitic Zoonoses.
Food- and Water-Borne Parasitic Zoonoses in the 21 th Century. Joint Internation
Tropical Medicine Meeting 2000. December 6-8, 2000. The Royal River Hotel, Bangkok,
Thailand.
6 Anuntalabhochai, S., Chandej, R.,
Phanchisiri, B., Yu., L.D., Vilaithong, T., and Brown, I.G. (2001) Ion-Beam-Induced
deoxyribose nucleic acid transfer. Applied Physics Letters. 78(16):1-3.
7 Dum-Ampai, N., Marha, J., Thakumphu,
B., Anuntalabhochai, S. (2002) Evaluation of Genetic )Variation in longan (Dimocarpus
longan Lour) by High Annealing Temperature Random Amplified Polymorphic DNA
(HAT-RAPD) (submitted to Science Asia) ในขณะนี้ paper นี้ ผ่านการ review แล้วและอยู่ระหว่างการแก้ไขเพื่อส่งกลับ