1. ห้องปฏิบัติการวิจัย | ความหลากหลายของจุลินทรีย์ Microbial Diversity Research Laboratory |
ภาควิชา | ชีววิทยา |
2. สมาชิก
(1) รศ. ดร. สายสมร ลำยอง | ผู้ประสานงาน |
(2) อ. วีระศักดิ์ สหชัยเสรี | สมาชิก |
3 ) ดร. ภาณุวรรณ จันทวรรณกูร | สมาชิก |
(3) อ. ฉัตรชัย กิติพรชัย | สมาชิก |
(4) ผศ. มรกต สุกโชติรัตน์ | สมาชิก |
3.
หลักการและเหตุผลของการจัดตั้ง
ปัจจุบันเรื่องของความหลากหลายทางชีวภาพกำลังเป็นแนวทางการศึกษา
ที่เป็นความต้องการเร่งด่วนของประเทศไทย รวมทั้งประเทศต่างๆ ทั่วโลกที่มีทรัพยากรทางด้านนี้อยู่และกำลังอยู่ในระหว่างการรอเซ็นสัญญาภาคีชีวภาพ
(Agenda 2000) เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตพวกพืช สัตว์และจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติในพื้นที่ของแต่ละประเทศ
ข้อมูลพื้นฐานนี้โดยเฉพาะทางด้านจุลินทรีย์ยังขาดอยู่มาก ทั้งที่เป็น microscopic
และ macroscropic microorganism ซึ่งรวมทั้งชนิดและจำนวน การกระจายในแต่ละถิ่นที่อยู่ในธรรมชาติ
ทำให้ไม่สามารถที่จะประเมินความสำคัญ บทบาทในธรรมชาติและความเสี่ยงในสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการมีอยู่หรือหายไปของจุลินทรีย์เหล่านี้
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้เรายังมีความจำเป็นที่จะต้องสำรวจและเก็บรวบรวมจุลินทรีย์ไว้เพื่อนำไปพัฒนาที่จะใช้ประโยชน์ต่อไป
4.
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
1. เพื่อสำรวจความหลากหลายของจุลินทรีย์กลุ่มต่างๆ
เช่นฟังไจ แบคทีเรีย และแอกติโนมายซีส ที่กระจายอยู่ในธรรมชาติ ทั้งชนิด และปริมาณ
2. เพื่อศึกษาบทบาทของจุลินทรีย์กลุ่มที่สำคัญ
3.เพื่อศึกษาถีงความเป็นไปได้ที่จะนำจุลินทรีย์ที่ได้เก็บรวบรวมและผ่านการคัดเลือกแล้วไปใช้ประโยชน์ทางอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อม ทางการแพทย์และทางการเกษตร
5.
งานวิจัยหลักที่กำลังดำเนินอยู่
1. การสำรวจการกระจายของจุลินทรีย์ ที่อาศัยในต้นพืช
(endophytic microbe)
2. การคัดเลือกแบคทีเรียที่เจริญที่อุณหภูมิสูง
ที่สามารถผลิตเอนไซม์กลูโคสออกซิเดส
3. การสำรวจหาจุลินทรีย์ที่สร้างเอนไซม์ที่สลายและหรือสังเคราะห์โพลี่แซคคาไรด์บางชนิด
4. การสำรวจจุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับการย่อยสลายของเสีย
5. การสำรวจและเก็บรวบรวมจุลินทรีย์ที่สร้าง
secondary metabolite เพื่อต่อต้านราหรือแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของโรคพืชและโรคคน
6.
อุปกรณ์ เครื่องมือวิจัยหลักที่มีอยู่แล้ว
1. หม้อนึ่งอัดไอ
2. ตู้บ่มเชื้อที่ปรับอุณหภูมิได้
3. ตู้ถ่ายเชื้อ
4. เครื่องบ่มเชื้อที่เขย่าได้และปรับอุณหภูมิได้
(Lab line )
5. เครื่องเขย่า
6. อ่างน้ำควบคุมอุณหภูมิ
7. เครื่องวัดความเป็นกรดด่าง
8. เครื่องเหวี่ยงที่รอบสูงๆ
9. Spectrophotometer UV-Visible (Shimuszu)
10. Fraction collecter (Phamacia Biotech)
11. Fermentors
7.
ผลสัมฤทธิ์ทางการวิจัยที่ดำเนินการไปแล้วในปีงบประมาณ 2544 (พค 4- เม.ย.45)
7.1. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย
1.1 ได้รับทุนจากสภาวิจัยแห่งชาติภายใต้ความร่วมมือไทย-ญี่ปุ่น
สนับสนุนการวิจัยเรื่อง การพัฒนาวิธีการในการคัดเลือกและใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ที่อาศัยในต้นพืช
ซึ่งผลิตกรดอินทรีย์และโอลิโกแซคคาไรด์ ประจำปีงบประมาณ 2539-42 เป็นระยะเวลา 3
ปี (พค40-เมษา43) ขระนี้กำลังเตรียมรายงานฉบับสมบูรณ์
1.2 ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก
รุ่นที่ 1 (2541-2545)
1.3 ได้ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก
รุ่นที่2 (2542-2546)
1.4 ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยโครงการ
BRT ในการศึกษา endophytic fungi จากพืชป่าที่เป็น ไม้เนื้ออ่อน ประจำปีงบประมาณ
2542-2545 เป็นเวลา 2 ปี (มิย. 42-มิย. 45)
1.5 ได้รับทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก
รุ่นที่ 3 (2543-2547)
1.6 ได้รับทุนวิจัยร่วมของเมธีวิจัยอวุโสของศาสตราจารย์
ดร. เบญจวรรณ ฤกษเกษม 3 ปี (44, 45,46)
1.7ได้รับทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก
รุ่นที่ 4 (2544-2548)
7.2 ผลิตนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา
ซึ่งทำวิจัยและได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากโครงการของหน่วยวิจัยนี้ 7 คน
7.2 การตีพิมพิ์ผลงาน สามารถตีพิมพ์ผลงานย้อนหลังได้
24 เรื่อง
7.3 การเสนอผลงานในการประชุม (ปี 2544)
1. การประชุมนานาชาติ
1.1 Lumyong, S., C. Urairuj and C.
Khanongnuch. 2001. Lignin degrading enzymes production from tropical endophytic
Xylaria. 8th International Conference on Biotechnology in the pulp and Paper
Industry. June 4-8, 2001, Finlandia hall, helsinki, Finland.
1.2 Khanongnuch, C., N. Wanphrut,
S. Lumyong, Y. Honda, M. Kuwahara and T. Watanabe. 2001. A new thermotolerant
wood rotting fungi Coriolus versicolor isolated from northern Thailand and its
potential in lignin degrading applications. Symposium on recent advances in
lignin biodegradation and biosynthesis. June 3-4, 2001. Vikki Biocenter, University
of Helsinki, Finland.
1.3 Lumyong, S. R. Sanmee, P. Lumyong,
B. Rekasam and B. Dell. 2001 Nutitional value of edible ectomycorrhiza from
a northern Thailand forest. The 3th International Conference on Mycorrhiza.
Diversity and Integration in mycorrhiza" July 8-13 Adelade Convention Center
, Sounth Australia .
1.4 Youpensuk, S., S. Lumyong, B.
rerkasem and B. Dell. 2001. Biodiversity of arbuscular mycorrhizal fungi from
rhizosphere of Macaranga denticulata (BI.) Mull. Arg. In mae Hong Son province,
Thailand. The 3th International Conference on Mycorrhiza " Diversity and
integration in Mycorrhizas". July 8-13 Adelade Convention Center, Sounth
Australia.
1.5 Bussaban, B. S. Lumyong, P. Lumyong,
E.H.C. McKenzie and K.D. Hyde. 2001. Two new specices of endophytic fungi from
Alpinia malacsense in Thailand. Annual meeting of American Society of Microbiology
September Salt lake City, Conventional Hall, Salt lake, Utha.
1.6 Photita, W., S. Lumyong, P. Lumyong,
and K.D. Hyde. 2001. Saprophyte from banana in Thailand. The Annual meeting
of American Society of Microbiology, September , Salt lake City, Conventional
Hall, Salk lake, Utha.
2. การประชุมในประเทศ
2.1 Lumyong, S. W. teacha and P. Lumyong.
2001. Endophytic fungi from Walichia and callamus at Doi Suthep-pui natinal
park, Thailand. การประชุมวิชาการประจำปีโครงการ BRT ครั้งที่ 3 วันที่ 8-11 ตุลาคม
2544 โรงแรมนภาลัย อุดรธานี
2.2 Lumyong, S. 2001. Endophytic fungi
from various plants in Thailand. 2001. การประชุม Fungal Diversity: Toward a
checklist of Thai Fungi. ครั้งที่ 1 ศุนย์พันธุวิศวกรรม กรุงเทพ วันที่ 14-15
พฤศจิกายน 2544
2.3 Lumyong, S., N. Norkaew, D. Pongputhachart
and F. Tomita.. 2001. Isolation Optimization nd characterization of xylanase
from endophytic fungi. BioThailand 2001. 7-10 November, Queen Sririkit national
Convention Center, Bangkok.
7.4.
มีความร่วมมือทางวิชาการด้านการวิจัยเกี่ยวกับจุลินทรีย์กับบุคคลในสถาบันต่างประเทศ
เพิ่มจากรายงานปี 2543 8,9 คือ 8,9
1. Associate Professor Dr. Kevin Hyde.
Department of Ecology and Biodiversity. The University of Hong Kong เป็นที่ปรึกษาร่วมในโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก
รุ่นที่ 1 (2541-2545)
2. Prof. Fusao Tomita Lab of Applied
Microbiology, faculty of Agriculture, Hokkaido University, Japan ทำวิจัยร่วมในโครงการ
Large Scale cooperation JSPS-NRCT (2540-2542) และเป็นที่ปรึกษาร่วมในโครงการปริญญาเอกของมหาวิทยาลัยฮอกไกโด
3. Associate Professor Dr. Bernard
Dell. Department of Plant Science, Murdoch University, Perth,
W.A. 6150, Australia เป็นที่ปรึกษาร่วมในโครงการปริญญาเอกกาจณาภิเษก รุ่นที่2
(2542-2546)
4.. Prof. Tachiki, Rhizamakan University
ญี่ปุ่น ได้มีความร่วมมือในการวิจัยโครงการ JSPS-NRCT
ระหว่างปี 2541-2545
5. Prof. John F. Peberdy MBE School
of Biological Sciences, Division of Microbiology,University Park Nottingham,
NG7 2RD, UK. โครงการปริญญาเอก
6 Dr. Stephen D. Pointing, Department
of Ecology and Biodiversity. The University of Hong Kong เป็นผู้ร่วมงานที่กำลังเตรียม
proposal เพิ่อขอทุนทำวิจัยร่วมกัน
7 Prof. Fusako Kawai, Research Institute
for Biosciences, Okayama University, 2-20-1 Chuo, Kurashiki, 710-0046, Japan
ร่วมทำงานวิจัยเรื่อง glucose oxidase from thermotorelant microbes
8. Prof. Ken Izumori Faculty of Agriculture,
Kagawa University ร่วมวิจัยเกี่ยวกับ rare sugar
9. Prof. Zlang Yang National Institute
of Botany, Kunming, Yunana, China ผู้เฃี่ยวฃาญในการบ่งบอกชนิดของเห็ด ร่วมมือเป็นที่ปรึกษาร่วมในโครงการปริญญาเอกการญจนาภิเษก
2542
10. Prof. Strobel ฌary Monthana Stata
University Co-advisor ของนศ. คปกรุ่นที่ 4