1. ชื่อหน่วยวิจัย : | การกัดกร่อนและการออกซิเดชัน Corrosion and Oxidation |
ภาควิชา | ฟิสิกส์ |
2. สมาชิก : ประกอบด้วย
(1) นายสมชาย ทองเต็ม
(Mr. Somchai Thongtem) ตำแหน่ง : รองศาสตราจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 โทร. (053) 943377, 943420 ต่อ 2128, โทรสาร.(053)892271 |
ผู้ประสานงาน |
(2) นางธิติพันธุ์
ทองเต็ม (Mrs. Titipun Thongtem) ตำแหน่ง : รองศาสตราจารย์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 โทร. (053)943341-45 ต่อ 229, โทรสาร.(053)892277 |
สมาชิก |
3.
หลักการและเหตุผล
ในอนาคต Ti-based alloys เป็นโลหะผสมที่สามารถจะนำมาทดแทน
Fe-based, Ni-based และ Co-based alloys ได้ดี ทั้งนี้เพราะการมีน้ำหนักเบาและการมี
strength ที่ดีมาก ทางกลุ่มผู้วิจัยจึงได้มีแนวคิดที่จะทำการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการ
oxidation ของ Ti-based alloys เพื่อหาทางปรับปรุงสมบัติของ alloys ดังกล่าวนี้ให้ดีขึ้น
4.
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
เพื่อปรับปรุงความแข็งและความทนทานต่อการสึกหรอของ
Ti-based alloys โดยการ carburization และ nitridation ให้เพิ่มมากขึ้น
5.
งานวิจัยหลักที่ดำเนินการอยู่
ทำการ carburization และ nitridation
ของ Ti-Al alloys ณ ที่อุณหภูมิ 1000-1300 K
6.
อุปกรณ์/เครื่องมือวิจัยหลักที่มีอยู่แล้ว
high temperature furnace, venturi meters,
regulator, ceramic tube, diamond saw, polishing machine, oven, gas cylinder,
multi-meter, inverted optical microscope, image analyser และ PC computer set
7..
ผลสัมฤทธิ์ทางการวิจัยจนถึงปัจจุบัน
ได้ทำการ nitridation โลหะผสมของ titanium
-Aluminium ที่อุณหภูมิสูงและสามารถปรับปรุงความแข็งได้เป็นผลสำเร็จ
8. ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่
8.1
S. Thongtem, T. Thongtem and M. McNallan : Surface modification of the Ti-Al
alloys at 1000-1200 K, Surface and Interface Analysis, vol.32, 2001, pp.214-217.
8.2 S. Thongtem, T. Thongtem and M.
McNallan : High-temperature nitridation and oxidation of Ti-based alloys, Surface
and Interface Analysis, vol.32, 2001, pp.306-309.