1. ชื่อห้องปฏิบัติการวิจัย | ต่อมไร้ท่อวิทยา Endocrinology Research Laboratory |
ภาควิชา | ชีววิทยา |
6.ประวัติผลงานที่ผ่านมานับตั้งแต่ก่อตั้งห้องปฏิบัติการวิจัย
6.1 งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ
1.
Singtripop, T., Wanichacheewa, S., Tsuzuki, S and Sakurai, S. 1999.
Larval growth and diapause in a tropical moth, Omphisa fuscidentalis
Hampson, Zool. Sci. 16:725-733. ISSN 0.969 |
6.2
บทความงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารและหนังสือพิมพ์
|
6.3
ผลงานวิจัยที่เสนอในการประชุมระดับชาติ
|
6.4
ผลงานวิจัยที่เสนอในการประชุมระดับนานาชาติ
|
6.5
ความร่วมมือกับสถาบันต่างๆทั้งในประเทศและต่างประเทศ
- ความร่วมมือทางวิชาการและงานวิจัยกับห้องปฏิบัติการชีวเคมี
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ความร่วมมือทางวิชาการและงานวิจัยกับห้องปฏิบัติการ
Developmental Biology มหาวิทยาลัย คานาซาวา ประเทศญี่ปุ่น
- สัญญาความร่วมมือระหว่างคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัย คานาซาวา ประเทศญี่ปุ่น 2541-2545
6.6
โครงการวิจัยที่ได้รับทุน
|
7. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการในปีที่ผ่านมา
7.1 . ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการต่างประเทศ
Singtripop,
T., Tungjitwitayakul, J, and Sakurai, S. 2002. Intensity of larval diapause
in the bamboo borer, Omphisa fuscidentalis, Zoological Science 19:577-582.
ISSN 0.969
Tippawan
Singtripop, Yasunori Oda, Somsak Wanichacheewa, Sho Sakurai. 2002 Sensitivities
to juvenile hormone and ecdysteroid in the diapause larvae of Omphisa fuscidentalis
based on the hemolymph trehalose dynamics index. Journal of Insect Physiology
48: 817-824. ISSN 1.468
7.2
ผลงานวิจัยที่เสนอในที่ประชุมต่างๆ
Saengsakda,
M. and Singtripop, T. 2002. Effect of juvenile hormone on the oxygen consumption
in the larval diapause of the bamboo borer, Omphisa sp. The 28th Science
and Technology Conference of Thailand, October, Bangkok.
Manaboon,
M. and Singtripop, T. 2002 Juvenile hormone activation of the prothoracic
gland of the bamboo borer larval diapause through an ultra short loop positive
feed back by ecdysteroid. The 28th Science and Technology Conference of
Thailand, October, Bangkok.
Singtripop,
T. and Sakurai, S. 2002. Responsiveness of prothoracic gland to PTTH in
diapausing larva of the bamboo borer, Omphisa sp. Invertebrate Neuropeptide
Conference, 6-11 Jan, Hua Hin, Prachuap Province, Thailand.
Manaboon,
M., Singtripop, T., Kaneko, Y., Takaki, K. and Sakurai, S . 2002. Endocrine
mechanisms to maintain the larval diapause in the bamboo borer, Omphisa
fuscidentalis. Zoological Science Conference, September, Kanazawa, Japan.
7.3
ความร่วมมือกับสถาบันต่างประเทศ
-
ความร่วมมือทางวิชาการและงานวิจัยกับห้องปฏิบัติการชีวเคมี มหาวิทยาลัยรามคำแหง
-
ความร่วมมือทางวิชาการและงานวิจัยกับห้องปฏิบัติการ Developmental Biology
มหาวิทยาลัย คานาซาวา ประเทศญี่ปุ่น
-
สัญญาความร่วมมือระหว่างคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย คานาซาวา ประเทศญี่ปุ่น
2546-2550
7.4
โครงการวิจัยที่ได้รับทุน
ทุนพัฒนานักวิจัย
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประเทศไทย เป็นเวลา 2 ปี (พ.ศ. 2544-2546)
ชื่อโครงการวิจัยคือ
Roles of Juvenile Hormone on the Development of the Larval Diapause of Bamboo
Borer, Omphisa sp.)
7.5
การบริการวิชาการ
ให้คำปรึกษาแก่ชาวบ้าน
และบริษัทต่างๆ ที่สนใจการเพาะเลี้ยงหนอนเยื่อไผ่ ทั้งการติดต่อโดยตรง และทางโทรศัพท์
7.6
กิจกรรมวิจัยร่วมกับการเรียนการสอนของนักศึกษา
รายชื่อนักศึกษา
|
ระดับ
|
หัวข้อปัญหาพิเศษ/
วิทยานิพนธ์
|
น.ส ทิพวรรณ ยะสง่า |
ปริญญาตรี
|
ีการกระตุ้นการเกิด programmed cell death ของ oil tube ของหนอนเยื่อไผ่ |
น.ส พิมลพรรณ เสรีวัฒนาชัย |
ปริญญาตรี
|
บทบาทของฮอร์โมนจูวีไนล์ต่อการเจริญเปลี่ยนแปลงของอัณฑะในหนอนเยื่อไผ่ (Omphisa fuscidentalis Hampson) |
นายภูวดล เชื้อผู้ดี |
ปริญญาตรี
|
ผลของฮอร์โมนจูวีไนล์ต่อการเปลี่ยนแปลงของปริมาณไขมัน โปรตีน และไกลโคเจนในหนอนเยื่อไผ่ |
น.ส มนพร มานะบุญ |
ปริญญาโท
|
กลไกของฮอร์โมนต่อการสิ้นสุดของระยะลาร์วัลไดอะพอสในหนอนเยื่อไผ่(Omphisa fuscidentalis Hampson) |
น.ส มนัสวัณฏ์ แสงศักดา |
ปริญญาโท
|
ความสัมพันธ์ของอัตราการใช้ออกซิเจนและการเปลี่ยนแปลงของเอนไซม์ Cytochrome C Oxidase ในหนอนเยื่อไผ่ระยะลาร์วัลไดอะพอส |
น.ส วิมลา ดีแท้ |
ปริญญาโท
|
ผลของสารสะกัดโด่ไม่รู้ล้ม(Elephantopus scaber Linn.) และตะโกนา(Diospyros rhodocalyx Kurz.) ต่อสมรรถภาพทางเพศในหนูขาวเพศผู้ |
8. แผนดำเนินการและผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้านต่างๆในรอบปีที่คาดว่าจะได้รับการต่ออายุ
งานวิจัยหลักที่กำลังดำเนินการอยู่คือ
1.
บทบาทของฮอร์โมนจูวีไนล์ต่อการเจริญของหนอนเยื่อไผ่ระยะไดอะพอส (Roles of juvenile
hormone on the development of the larval diapause of bamboo borer, Omphisa
sp.)
2.
กลไกของฮอร์โมนในการควบคุมและสิ้นสุดของหนอนเยื่อไผ่ระยะไดอะพอส (Hormonal
mechanisms underlying maintenance and break of larval diapause of bamboo
borer, Omphisa fuscidentalis)
3.
การทดสอบความเป็นพิษของสารสะกัดจากสมุนไพรบางชนิดที่เป็นสารกำจัดศัตรูพืช(เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเรื่อง
" การพัฒนาประสิทธิภาพสารสะกัดจากสมุนไพรบางชนิดที่เป็นสารกำจัดศัตรูพืช:
Improvement of the efficiency of the medicinal plant extracts for pedicide
use)
ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้านต่างๆในรอบปีที่คาดว่าจะได้รับการต่ออายุ
1.
ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยอย่างต่อเนื่อง
2.
ได้จัดหาทุนสำหรับโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาเพื่อไปหาประสพการณ์การในการทำวิจัยในต่างประเทศ
ปีละ 1 ทุน
3.
ได้ร่วมดำเนินงานวิจัยกับหน่วยวิจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับด้านต่อมไร้ท่อวิทยาทั้งในประเทศและต่างประเทศ
4.
มีเสนอผลงานวิจัยทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ 4 เรื่อง
5.
มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศ 2 เรื่อง