1.
ชื่อห้องปฏิบัติการวิจัย |
เคมีของข้าว
Rice Chemistry Research Laboratory
|
ภาควิชา |
เคมี |
2.
ชื่อผู้ประสานงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุกัญญา
วงศ์พรชัย
3. สมาชิก
3.1
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ดา จงแก้ววัฒนา (ที่ปรึกษา)
3.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาวิตร มีจุ้ย
3.3 อาจารย์กาญจนา ดำริห์
4. ปีที่เริ่มจัดตั้ง 2545
5. กิจกรรมของห้องปฏิบัติการวิจัยที่ได้ดำเนินการในปีที่ผ่านมา
5.1 |
ประยุกต์เทคนิคการวิจัยทางเคมี
เพื่อศึกษาสารหอม ในเมล็ดข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และสารกลุ่ม flavonoids
ในเมล็ดข้าวก่ำสายพันธุ์ต่างๆ |
5.2 |
วิจัยเพื่อพัฒนาเทคนิคการวิเคราะห์ทางเคมี
ทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ให้ได้เทคนิคที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ดีกับการวิเคราะห์ตัวอย่างข้าวจำนวนมาก |
5.3 |
เพื่อถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการวิเคราะห์ปริมาณสารหอมในข้าวแก่
นักศึกษา นักวิชาการการเกษตรและนักปรับปรุงพันธุ์ |
6. ประวัติผลงานที่ผ่านมานับตั้งแต่ก่อตั้งห้องปฏิบัติการวิจัย
(เรียงลำดับก่อนหลังตามปี พ.ศ.)
6.1 ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
6.2 ผลงานวิจัยที่เสนอในที่ประชุมต่างๆ
6.3 ความร่วมมือกับสถาบันต่างประเทศ
6.4 โครงการวิจัยที่ได้รับทุน (ดูข้อ
7.)
7. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการในปีที่ผ่านมา
7.1 ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 1 เรื่อง
- Wongpornchai, S., Sriseadka, T.
and Choonvisase, S., Identification and Quantitation of the Rice Aroma
Compound, 2-Acetyl-1-pyrroline, in Bread Flowers (Vallaris glabra Ktze),
J. Agric. Food Chem., 2003, 51, 457-462.
(วารสารอยู่ในฐานข้อมูล Science citation index)
7.2 ผลงานวิจัยที่เสนอในที่ประชุมต่างๆ
- Srisuwan, W. and Wongpornchai, S.,
Application of Headspace Gas Chromatography for Determination of 2-Acetyl-1-pyrroline
in Rice Seeds, 28th Congress on Science and Technology, Bangkok, Thailand,
2002.
(การประชุมระดับชาติ)
7.3 ความร่วมมือกับสถาบันต่างประเทศ -
7.4 โครงการวิจัยที่ได้รับทุน
- ชื่อโครงการ : การพัฒนาวิธีการตรวจวัดปริมาณสารหอมในข้าว
หน่วยงานที่ให้ทุน : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ระยะเวลาวิจัย : 1 กันยายน 2544 - 31 สิงหาคม 2547
ปีที่ได้รับทุน : 2544
งบประมาณทั้งสิ้น : 1,826,396.00 บาท
- ชื่อโครงการ : การศึกษาถึงอิทธิพลของปัจจัยสภาพแวดล้อม
และกลยุทธ์การจัดการที่มีผลต่อคุณภาพข้าวขาวดอกมะลิ 105 โดยการใช้แนวทางการวิจัยเชิงระบบ
หน่วยงานที่ให้ทุน : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ระยะเวลาวิจัย : 1 กันยายน 2544 - 31 สิงหาคม 2547
ปีที่ได้รับทุน : 2544
งบประมาณทั้งสิ้น : 5,196,557.00 บาท
- ชื่อโครงการ : ผลของการลดความชื้นด้วยอุณหภูมิและระยะเวลาการเก็บรักษาต่อคุณภาพความหอม
องค์ประกอบทางเคมี และสมบัติทางกายภาพของข้าวกล้องพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105
หน่วยงานที่ให้ทุน : โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
(ADB-PHT)
ระยะเวลาวิจัย : 1 ธันวาคม 2544 - 30 พฤศจิกายน 2547
ปีที่ได้รับทุน : 2544
งบประมาณทั้งสิ้น : 954,000.00 บาท
7.5 การให้บริการวิชาการ
- การจัดอบรมและให้ข้อมูลในการวิเคราะห์ปริมาณสารหอมในข้าวพันธุ์ข้าวดอกมะลิ
105 แก่นักวิชาการและนักศึกษาจากภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
และสถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล จ. ลำปาง
จำนวน 14 ชั่วโมง
7.6 บูรณาการกิจกรรมร่วมวิจัยกับการเรียนการสอน
- หัวข้อวิทยานิพนธ์ : Quantification
of Aroma Compound 2-Acetyl-1-pyrroline Released from Scented Rice Seed
by Headspace Gas Chromatography
นักศึกษา : นางสาววันทนีย์ ศรีสุวรรณ์ รหัส 4325117
กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ : ผศ. ดร. สุกัญญา วงศ์พรชัย
อ.
ดร. สุนันทา วังกานต์
อ.
ดร. วินัย อวงพิพัฒน์
โครงการวิจัยที่เกี่ยวข้อง : การพัฒนาวิธีการตรวจวัดปริมาณสารหอมในข้าว
8. แผนดำเนินการและผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้านต่างๆ ในรอบปีที่คาดว่าจะได้รับการต่ออายุ
แผนงาน
|
ผลสัมฤทธิ์ที่คาดว่าจะได้รับ
|
1. งานวิจัย
- การประยุกต์เทคนิค Headspace gas
chromato graphy ในการตรวจวัดปริมาณสารหอมในข้าว
- การศึกษา flavonoids ในข้าวแดงบางพันธุ์ด้วยเทคนิค
liquid chromatography - mass spectrometry (LC-MS)
- ผลของการลดความชื้นด้วยอุณหภูมิและระยะเวลาการเก็บรักษาต่อคุณภาพความหอม
สมบัติทางเคมีและสมบัติทางกายภาพของข้าวกล้องพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105
|
1. งานวิจัย
- ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการอย่างน้อย
2 เรื่อง
- เสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมระดับประเทศอย่างน้อย
2 เรื่อง
|
2. การให้บริการวิชาการ
- จัดการฝึกอบรมเรื่อง "สารให้ความหอมในเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมและวิธีการหาปริมาณ"
แก่นักวิชาการเกษตร เกษตรกร และผู้ที่เกี่ยวข้อง
|
2. การให้บริการวิชาการ
- ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการวิเคราะห์ปริมาณสารหอมในข้าวแก่
นักศึกษา นักวิชาการการเกษตรและผู้เกี่ยวข้องได้นำไปประยุกต์ใช้ต่อไป
|
3. บูรณาการกิจกรรมร่วมวิจัยกับการเรียนการสอน
- ทุนอุดหนุนการวิจัยสามารถสนับสนุนงานวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาโท
2 คน
|
3. บูรณาการกิจกรรมร่วมวิจัยกับการเรียนการสอน
- วิทยานิพนธ์นักศึกษาระดับปริญญาโท
2 คน
|