1. ชื่อห้องปฏิบัติการวิจัย นาโนวิทยา
Nanoscience Research Laboratory
ภาควิชา เคมี

2. สมาชิก

1. รศ. ดร. สุคนธ์ พานิชพันธ์ ผู้ประสานงาน
(e-mail address: sukon@science.cmu.ac.th)
ผู้ประสานงาน
2. อ. ดร. ฐปนีย์ สารครศรี สมาชิก
3. อ. ดร. อภินภัส รุจิวัตร์
4. ผศ. ดร. อนันต์เสวก เหว่ซึ่งเจริญ
5. รศ. ดร. เรืองศรี วัฒเนสก์
6. อ. ดร. จรูญ จักร์มุณี
4. นางสาวละอองนวล ศรีสมบัติ
5. นางสาวสายรุ้ง ซาวสุภา
6. นางสาวรุ้งลาวัลย์ สมสุนันท์
7. นางสาวสุรินทร์ สายปัญญา
8. นางสาวเนตรนภา พรหมสวรรค์
9. นายชำนาญ ราญฎร

สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก
สมาชิก

 

3. หลักการและเหตุผล

นาโนวิทยา (Nanoscience) และนาโนเทคโนโลยี (Nanotechnology) เป็นวิทยาการใหม่ที่เกิดจากการรวมตัวกันของสาขาวิชาเคมี, ฟิสิกส์, คณิตศาสตร์, ชีววิทยาและวิศวกรรมศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและสร้างวัสดุเครื่องมือเครื่องใช้ที่มีขนาดเล็กระดับนาโนเมตร (หนึ่งในพันล้านเมตร) ซึ่งเป็นระดับขนาดของโมเลกุลและอะตอมดังนั้นวัสดุเครื่องมือเครื่องใช้ดังกล่าวมีส่วนประกอบขนาดเพียงเท่ากับโมเลกุลหรืออะตอมหรือใหญ่กว่าเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ซึ่งเป็นผลมาจากเทคโนโลยีใหม่ที่ทำให้มีสมบัติทั้งทางฟิสิกส์, เคมีและชีววิทยาที่เหนือกว่าเดิม

วัสดุเครื่องมือเครื่องใช้เหล่านี้ สามารถทำงานได้ในระดับละเอียดภายในบริเวณที่มีพื้นที่จำกัด ซึ่งกำลังมาแทนที่วัสดุอุปกรณ์แบบเดิมในอุตสาหกรรมชีวภาพ การแพทย์และสาธารณสุข อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมอาหาร การผลิตสารเคมีและวัสดุทั่วไป เช่น

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินการวิจัยและพัฒนาวัสดุนาโนมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 โดยมีหน่วยวิจัยกระบวนการผลิตทางเคมี ซึ่งเป็นหน่วยวิจัยย่อยของห้องปฏิบัติการวิจัยวัสดุศาสตร์ ภาควิชาฟิสิกส์ ทำการผลิตผงนาโนอิเล็กทรอเซรามิก มีบัณฑิตที่จบทางด้านนาโนวิทยา ทั้งระดับปริญญาโทและเอก (จำนวน 4 และ 4 คน ตามลำดับ) และได้ตั้งห้องปฏิบัติการวิจัยต้านการสึกหรอ ห้องปฏิบัติการวิจัยโพลิเมอร์ กลุ่มวิจัยนาโนวิทยา หน่วยวิจัยวัสดุอนินทรีย์
ปัจจุบันภาควิชาเคมีร่วมรับผิดชอบในหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวัสดุศาสตร์เน้นแขนงวิชา อิเล็กทรอเซรามิก พอลิเมอร์ โลหะและคอมโพสิท โดยเป็นหลักสูตรร่วมของภาควิชาฟิสิกส์ เคมี เคมีอุตสาหกรรม และธรณีวิทยา และสาขาวิชา "เทคโนโลยีชีวภาพ" เน้นแขนงวิชาชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี โดยเป็นหลักสูตรร่วมของคณะวิทยาศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร และคณะเภสัชศาสตร์ งานวิจัยในสาขานาโนเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับโลหะและวัสดุในปัจจุบันเป็นการพัฒนาการสังเคราะห์วัสดุนาโนโดยกระบวนการทางเคมีเน้นวิธีไฮโดรเทอร์มอลและออกซาเลต กระบวนการทางกายภาพเช่น เซลล์ไฟฟ้า และเซนเซอร์ต่างๆใช้ในอุตสาหกรรม และงานวิจัยวัสดุต้านการสึกหรอเกี่ยวข้องกับการพัฒนาวัสดุเคลือบผิวโลหะนาโนคอมโพสิทเพื่อประยุกต์ใช้เป็นวัสดุที่มีความแข็งแรงสูง และน้ำหนักเบา โครงการวิจัยที่กำลังดำเนินการและคาดว่าจะดำเนินการเกี่ยวกับนาโนวิทยาและนาโนเทคโนโลยี ที่ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนสนับสนุนงานวิจัยแห่งชาติ (สกว.) เป็นทุนสำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (ศว) และจากแหล่งทุนอื่นๆ

4. วัตถุประสงค์
4.1 เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรที่มีความรู้และความชำนาญด้านนาโนวิทยาและนาโนเทคโนโลยี
4.2 เพื่อสร้างศักยภาพในการวิจัยทางด้านนาโนวิทยาและนาโนเทคโนโลยีในประเทศ รวมทั้งการสร้างเครือข่ายการวิจัยในด้านนี้
4.3 เพื่อสร้างความรู้ทางด้านนาโนวิทยาและนาโนเทคโนโลยี และสามารถได้มาซึ่งผลการวิจัยที่เป็นรูปธรรม
4.4 เพื่อมีการถ่ายทอดผลการวิจัยและองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยโดยการเผยแพร่ผลงานในวาร สารทางวิชาการที่เป็นที่ยอมรับในต่างประเทศและนำเสนอในการประชุมวิชาการ

5. อุปกรณ์การวิจัยที่มีอยู่แล้วและสามารถขอความอนุเคราะห์ใช้ในคณะวิทยาศาสตร์
1. เครื่องมือวัดการกระเจิงของรังสีเอ็กซ์ ( X-Ray Diffractometer) จำนวน 1 เครื่อง
2. เครื่องวัดการดูดซับของแสงอินฟาเรด (FT-IR Spectrometer) จำนวน 1 เครื่อง
3. เครื่องวัดการดูดซับแสงยูวีและวิสิเบิล (UV-Visible Spectrometer)
4. ชุดเตาเผาอุณหภูมิสูง (อุณหภูมิสูงสุด 1500 องศาเซลเซียล) จำนวน 1 ชุด
5. ชุดเตาเผาอุณหภูมิสูง (อุณหภูมิสูงสุด 1200 องศาเซลเซียล) จำนวน 5 ชุด
6. ชุดเครื่องมือวิเคราะห์ Thermal Gravimetric Analysis จำนวน 1 ชุด
7. ชุดระบบไฮโดรเทอร์มอล (Hydrothermal vessel) จำนวน 6 ชุด
8. ชุด Glove box ขนาดกลางสำหรับการเตรียมสารโดยไม่ให้สัมผัสกับอากาศ 1 ชุด
9. ชุดเครื่องมือ Gas Chromatograph (GC), GC-MS, HPLC
10. ชุดเครื่องมือ LV-SEM, FE- SEM, HR-TEM
11. ชุดเครื่องมือ XRF, AFM
12. ชุดเครื่องมือ NMR
13. ชุดเครื่องมือ MEC Powder jet-86
14. Fluorescence spectrometer

6. ผลสัมฤทธิ์ผลทางวิชาการวิจัยจนถึงปัจจุบัน
6.1 Publications in International Journal in Nanoscience and Nanotechnology

 

1. W. Maison, G. Rujijangul, T. Tunkasiri and S. Phanichphant "Phase Transition Study of the Catecholate Synthesized Barium Titanate Powders ", J.Sci.Fac.CMU., 1999, 26, 87-96.
2. P. Youme, T. Tunkasiri, G. Rujijangul, and S. Phanichphant "Synthesis of Barium Titanate Powdres by Sol-Gel Method ", Chiang Mai J. Sci., 2000, 1, 14-23.
3. P. Pookmanee, R. B. Heimann and S. Phanichphant, "Synthesis and Properties of Bismuth Sodium Titanate (BNT), Part I : Chemical Syntheses of Fine Single-phase Bismuth Sodium Titanate Powders" , Ceramic Forum International/ Ber. DKG, 2001, 78 (5) , E27- E30.
4. Suwimon Nualpralaksana, Sukon Phanichphant, Margitta Hengst and Robert B. Heimann, "Hydrothermal Synthesis of Lead Zirconate Titanate (PZT) and Lanthanum Lead Zirconate Titanate (PLZT) Nanopowders", Ceramic Forum International/ Ber. DKG, 2001, 78(5), E34- E38.
5. Wongduan Maison, Supon Ananta, Tawee Tunkasiri, Prasak Thavornyutikarn and Sukon Phanichphant, "Effect of Calcination Temperature on Phase and Microstucture Behavior of Barium Titanate Fine Powders Synthesized by Catecholate Process", ScienceAsia, 2001, 27(4), 239-243..
6. Pitak Youme, Sukon Phanichphant , Supon Ananta and Robert B. Heimann, "Novel oxalate route to high quality iron niobate fine powders", Ceramic Forum International/ Ber DKG, 2001, 78(8), E 48- E 51.
7. Suwimon Nualpralaksana and Sukon Phanichphant, Characterization of Nitrate Route Synthesized Lead Zirconate Titanate Powders and Ceramics, Chiang Mai, J. Sci, 2002, 29(3), 129-140.
8. S. Phanichphant, Pitak Youmee, R. Kleeberg and B. Ullrich, Phase Transformation of Iron Niobate Powders and Ceramics Synthesized by Oxalate Route, accepted for publication in Interceram, 2003, 2 (March).
9. P. Pookmanee, G. Rugijanagul, S. Ananta, R.B. Heimann and S. Phanichphant, Effect of Sintering Temperature on Microstructure of Hydrothermally Prepared Bismuth Sodium Titanate Ceramics, accepted for publication in J. Eur. Ceram. Soc.
10. Pitak Youmee, Supon Ananta and Sukon Phanichphant, Characterization of Perovskite Lead Iron Niobate Powders Synthesized by Partial Oxalate Method, submitted for publication in Chiang Mai, J. Sci.
11. Suwimon Naulpralaksana, Robert B. Heimann and Sukon Phanichphant, Effect of Sintering Temperature on PZT Ceramics Synthesized from Coprecipitation and Hydrothermal Processes, submitted for publication in Interceram.
12. Paralee Waenkaew, Bernd Ullrich and Sukon Phanichphant, Characterization of Strontium Titanate Poders Synthesized by an Oxalate Process, submitted for publication in Interceram.
13. Suwimon Nualpralaksana, Robert B. Heimann and Sukon Phanichphant, Parameters Controlled on Phase and Morphology In Hydrothermally Synthesized PZT Powders, submitted for publication in Interceram..
14. Wongduan Maison, Reinhart Kleeberg, Robert B. Heimann and Sukon Phanichphant, Phase Content, Tetragonality and Crystallite Size of Nanoscaled Barium Titanate Synthesized by the Catecholate Process: Effect of Calcination Temperature ,J. Eur. Ceram. Soc., 2003, 23, 127-132.
15. J. T. Vaughey, K. Kepler, C. S. Johnson, T. Sarakonsri, R. Benedek, J. O'Hara, S. Hackney, and M. M. Thackeray, Intermetallic Insertion Electrodes for Lithium Batteries, Electrochemical Society Proceeding, 1999, 99-24, 280-289.
16. M. M. Thackeray, J. T. Vaughey, C. S. Johnson, A. J. Kropf, H. Tostman, R. Benedek, T. Sarakonsri and S. A. Hackney, Intermetallic Negative Electrodes for Lithium Batteries, Electrochemical Society Proceeding, 2000, 36, 92-101.
17. C. S. Johnson, J. T. Vaughey, M. M. Thackeray, T. Sarakonsri, S. A. Hackney, L. Fransson, K. Edstrom, J. O. Thomas, Electrochemistry and in-situ X-ray diffraction of InSb in lithium batteries, Electrochemistry Communications, 2000, 2, 595-600.
18. J. T. Vaughey, C. S. Johnson, A. J. Kropf, R. Benedek, M. M. Thackeray, H. Tostman, T. Sarakonsri, L. Fransson, K. Edstrom, J. O. Thomas, Structural and mechanical features of intermetallic materials for lithium batteries, Journal of Power Sources, 2001, 97-98, 194-197.
19. A. Rujiwatra, C. J. Kepert, J. B. Claridge, M. J. Rosseinsky, H. Kumagaic, M. Kurmoo, Layered Cobalt Hydroxysulfates with Both Rigid and Flexible Organic Pillars: Synthesis, Structure, Porosity and Co-operative Magnetism, J. Am. Chem. Soc., 123(43), 2001, 10584 - 10594.
20. A. Rujiwatra, S. J. Heyes, G. J. Mander, C. J. Kepert, M. J. Rosseinsky, Synthesis and Characterisation of Ethylenediamine Pillared Zinc Hydroxyl Sulphates, and Their Relationship With the Mineral Namuwite and Basic Zinc Sulphates, Submitted to Chemistry of Materials.
21. A. Rujiwatra, C. J. Kepert, J. B. Claridge, M. J. Rosseinsky, Synthesis and Characterization of {Zn2(PO4)2.(H3NC2H4NH3)}8, a superstructure of Zn2(PO4)2.(H3NC2H4NH3) using merohedrally twinned data, To be submitted to Microporous Materials.

6.2 วิทยานิพนธ์ทางด้านนาโนวิทยาระดับบัณฑิตศึกษาของภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์

วิทยานิพนธ์
บัณฑิต
ระดับ
ปีที่จบ
อาจารย์ที่ปรึกษา ทุนการศึกษา
1. Preparation of High Purity Barium Titanate Powders by Sol-Gel Method
นายพิทักษ์ อยู่มี
ปริญญาโท
2539
รศ.ดร.สุคนธ์ พานิชพันธ์ ส่วนตัว
2. Characteriaztion of Barium Titanate Fine Powders by an Oxalate Process
นายสามารถ คงทวีเลิศ
ปริญญาโท
2543
รศ.ดร.สุคนธ์ พานิชพันธ์ โครงการผลิตและพัฒนาอาจารย์ ทบวงมหาวิทยาลัย
3. Synthesis and Characterization of Magnesium Niobate Power
นส.ละอองนวล ศรีสมบัติ
ปริญญาโท
2545
รศ.ดร.สุคนธ์ พานิชพันธ์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
4. Characterization of Modified Barium Titanate Powders Prepared by Catecholate Process
นส.วงเดือน ไม้สนธิ์
ปริญญาเอก
2545
รศ.ดร.สุคนธ์ พานิชพันธ์ - ทุนช่วยสอนคณะวิทยาศาสตร์
- ทุน สวทช.
- The German Exchange Program (DAAD)
- ทุนสถาบันราชภัฎฉะเชิงเทรา
5.Characterization of Lead Zirconate Titanate Powders
นส.สุวิมล นวลพระลักษณ์
ปริญญาเอก
2545
รศ.ดร.สุคนธ์ พานิชพันธ - ทุน สวทช.
- The German Exchange Program (DAAD)
- ทุนสถาบันราชภัฎนครปฐม
7. Synthesis and Characterization of Lead Iron Niobate by Novel Oxatate Method
นายพิทักษ์ อยู่มี
ปริญญาเอก
2546
รศ.ดร.สุคนธ์ พานิชพันธ์ ทุนบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทุนสถาบันราชภัฏพิบูลย์สงคราม

6.3 โครงการวิจัยที่กำลังดำเนินการและคาดว่าจะดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับนาโนวิทยาและนาโนเทคโนโลยี
ในภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์

โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
ช่วงเวลาของโครงการ
ความสามารถที่จะเกิดขึ้น
1. Processing and Fabrication of Carbon-nanotube Composite Materials*
1.00 (MUA)
2546-47
ขยายการใช้เทคโนโลยีวัสดุ
ในอุตสาหกรรมพลังงาน
2. Synthesis and Characterization of Lead Magnesium Niobate
1.55
2545-48
สามารถผลิตผงนาโน (โครงการพัฒนา เพื่อใช้สร้างตัวเก็บประจุ
อาจารย์)
3. Synthesis and Characterization of Negative Electrode Materials for Rechargeable batter
(TRF)
2546-48
ขยายการใช้นาโนวิทยาในอุตสาหกรรมพลังงาน
4. Luminescent Materials for Industrial Applications
-
2546-47
ขยายการใช้นาโนวิทยาในอุตสาหกรรมสีและพอลิเมอร์
5. Comparative studies on the effect of chemical conversion techniques on types and
adsorption behavior of zeolitic materials synthesized from fly ash
0.478 (TRF)
2545 - 47
เพิ่มคุณค่าวัสดุเหลือใช้ ในท้องถิ่น และขยาย แนวทางการนำไปสู่ การใช้ได้จริงในชุมชน
6. Development of Zeolitic Materials From Mae Moh Fly Ash and Other Additives for Agricultural Applications
0.3585(EGAT)
2546 - 48
สร้างเครือข่ายระหว่าง
องค์กรของรัฐและเพิ่ม คุณค่าวัสดุเหลือใช้ ในท้องถิ่นและขยาย แนวทางการนำไปสู่ การใช้ได้จริงในชุมชน
7. Synthesis and CharacterizationOf Novel Organic - pillared Inorganic Framework Materials
0.4(TRF)
2545 - 47
เพิ่มองค์ความรู้ใหม่ เกี่ยวกับวัสดุทางนาโน และขยายขอบเขตการ ใช้งานวัสดุที่มีความ เฉพาะเจาะจงสูง

8. Zeolization of Volcanic Rock

ความร่วมมือ
กับภาควิชา
ธรณีวิทยา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2545 -47
เพิ่มคุณค่าทางเศรษฐกิจของทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถิ่น
*โครงการวิจัยที่คาดว่าจะดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับนาโนวิทยาและนาโนเทคโนโลยีในในภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์

6.4 ความร่วมมือทางวิชาการทางนาโนวิทยาและนาโนเทคโนโลยีระหว่างภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์กับองค์กรภาครัฐและเอกชน สถาบันทั้งในประเทศและต่างประเทศ
สถาบันภายในประเทศ
1. ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2. ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
3. คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันราชภัฏพิบูลย์สงคราม
4. คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันราชภัฏนครปฐม
5. คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันราชภัฏฉะเชิงเทรา
6. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
7. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
8. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
9. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
10. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
11. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุรนารี
12. ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
13. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
องค์กรภาคเอกชนภายในประเทศ
1. บริษัทคงศักดิ์เอกซ์เรย์ จำกัด
2. บริษัทซันสวิท จำกัด
3. บริษัทสยามไวร์เน็ตติ้ง จำกัด
สถาบันต่างประเทศ
1. ประเทศสหราชอาณาจักร (United Kingdom)
University of Leeds
University of Reading
2. ประเทศสหรัฐอเมริกา (USA)
Texas Tech University
University of Houston
3. ประเทศฝรั่งเศส (France)
University of Science and Technology of Lille
4. ประเทศสหพันธรัฐเยอรมัน (Germany)
Freiberg University of Mining and Technology

นอกจากนี้สมาชิกห้องปฏิบัติการวิจัยจำนวน 2 คน จะเดินทางไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกทางด้าน Nanocomposite Materials ที่ Department of Chemistry, University of Houston ในเดือนสิงหาคม 2546 นี้ โดยทุนทบวงมหาวิทยาลัย (เฉพาะสาขาขาดแคลน) และกำลังอยู่ในระหว่างการดำเนินการขอทุนจากทบวงมหาวิทยาลัยในโครงการส่งเสริมการเพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศเครือข่าย Nanoscience and Nanotechnology ปีงบประมาณ 2546 เพื่อให้สมาชิกห้องปฏิบัติการวิจัย 3 คนได้ไปฝึกอบรมระยะสั้น 3 เดือน และดูงานทางด้าน Nanocomposite Materials ที่ Department of Chemistry, University of Houston.