1. ชื่อห้องปฏิบัติการวิจัย | ห้องปฏิบัติการวิจัยฟิสิกส์ประยุกต์ Applied Physics Research Loboratory |
ภาควิชา | ฟิสิกส์ |
4. ปีที่เริ่มจัดตั้ง พ.ศ.2532 (แต่เปลี่ยนชื่อเป็น ห้องปฏิบัติการวิจัยฟิสิกส์ประยุกต์ เมื่อปี 2545)
5. กิจกรรมของห้องปฏิบัติการวิจัย/หน่วยวิจัย
ที่ได้ดำเนินการในปีที่ผ่านมา
1. เข้าร่วมการประชุมวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุแห่งประเทศไทย
ครั้งที่ 2 (MSAT II) วันที่ 6 - 7 สิงหาคม 2545 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กรุงเทพฯ
2. เข้าร่วมการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
ครั้งที่ 28 (วทท.28) วันที่ 24 - 26 ตุลาคม 2545 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
กรุงเทพฯ
3. เข้าเยี่ยมชมศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา วันที่
25 ตุลาคม 2545
4. Dr.Ken Foster นักวิทยาศาสตร์จาก
Research in Physics at Syracuse University ประเทศอเมริกา เข้าเยี่ยมชมหน่วยวิจัยฟิสิกส์ประยุกต์
ในวันที่ 8 สิงหาคม 2545
5. คณะอาจารย์จำนวน 4 ท่าน จาก Jinan
University ประเทศจีน เข้าเยี่ยมชมห้องวิจัย วันที่ 19 พฤศจิกายน 2545
6. ประวัติผลงานที่ผ่านมานับตั้งแต่ก่อตั้ง
ห้องปฏิบัติการ/หน่วยวิจัย (เรียงลำดับก่อนหลังตามปี พ.ศ.)
6.1 ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
1. Mangkorntong, N. and Neal, W.E.J.,
"Preparation of High Critical Temperature and High Resistivity Ratio
Nb3Sn Films on Quartz", Surf. Tech., 5, 78-80, 1977.
2. Mangkorntong, P., Na Chiang
Mai, S. and Mangkorntong, N., "A flat plate mirror focousing collector"
the 3rd Sem. On "Non-coventional energy and its applications",
Technological promotion association (Thai - Japan), Bangkok Thailand, 16
- 18 March 1983.
3. Mangkorntong, N., Mangkorntong
P., Na Chiang Mai, S. and Pakavanit,N., "Digital pyranometer"
J. Sci. Fac. CMU. vol 12, 1984.
4. Mangkorntong, N., Mangkorntong.,
P. and Na Chiang Mai. S., "A solar slitter alcohol distillation",
J. Narl. Res. Council Thailand, vol 17(2), 1985.
5. Mangkorntong, N. and Mangkorntong,
P., "A thin film fabrication technique for selenium solar cell",
5th ICASE-ASIAN Sym. on Sci. and Technology Education Towards Informed Citizenship
Malaysia, 1986.
6. Mangkorntong, N. and Mangkorntong,
P., "A Simple analysis of the photoconductivity in Se films",
Reg. Conf. On Semiconductor and Physics of Materials, The University of
Malaya, 1987.
7.
Pisith Singjai, Sripen Towta, Pongsri Mangkorntong and Nikorn Mangkorntong.,
"A High Temperature Superconductor Characterization Experiment for
Undergraduate Laboratory", Aspen Workshop on Undergraduate Physics
Laboratory, 17 - 19 Nov., Malaysia, 1993.
8. B. Lake, H. M. Ronnow, N. B.
Christensen, G. Aeppli, K. Lefmann, D. F. Mcmorrow, P. Vorderwisch, P. Smeibidl,
N. Mangkorntong, T. Sasagawa, M. Nohara, H. Takagi and T. E.
Mason, Antiferromagnetic order induced by an applied magnetic field in a
high-temperature superconductor, Nature, 415, 299 (2002). Impact factor
25.814 : Journal Citation Reports, 2000.
9. B. Lake, G. Aeppli, K. N. Clausen,
D. F. McMorrow, K. Lefmann, N. E. Hussey, N. Mangkorntong, M. Nohara, H.
Takagi, T. E. Mason and A. Schrode, Spins in the vortices of a high temperature
superconductor, Science Magazine, 291 (5509) : 1759, 2001. Impact factor
23.872 : Journal Citation Reports, 2000.
10. Minoru Nohara, Hiroaki Suzuki,
Masanobu Isshiki, Nikorn Mangkorntong, Fumiko Sakai and Hidenori Takagi,
Quasiparticle Density of State of Clean and Dirty d-Wave Superconductors
: Mixed-State Specific Heat of La2-xSrxCuO Single Crystals, Journal of the
Physical Society of Japan Vol.69, No.6, June, pp.1602-1605, 2000. Impact
factor 1.943 : Journal Citation Report, 2000. Impact factor 1.943 : Journal
Citation Reports, 2000.
11. M. Nohara, H. Suzuki, N. Mangkorntong,
and H. Takagi, Impurity-induced gap renormalization in anisotropic superconductors
: Mixed-state specific heat of La2-xSrx(Cu1-yZny)O4 and Y(Ni1-xPtx)2B2C
, Physica C , 341-348 (2000) 2177-2180. Impact factor 1.489 : Journal Citation
Report, 2000.
12. H. Suzuki, M. Nohara, N. Mangkorntong
and H. Takagi, Low-temperature specific heat of La2-xSrxCuO4 in the vortex
state, Meeting Abstracts of the Physical Society of Japan, Volume 54, Issue
2, Page 448, Sectional Meeting, September 24-27, Iwate University, 1999.
13. A Parent Compound of the simplest
High-TC Superconductor with Double CuO2 Planes : Crystal Growth and Characterization
of La2CaCu2O6+d", Preprint to be submitted to Elsevier Science
6.2
ผลงานวิจัยที่เสนอในที่ประชุมต่าง ๆ
1. Mangkorntong, N., Rukpongsiri,
P., Mangkorntong, P. and Towta, S.,Equations for simulation of ttransition
temperature of superconductor, 4th Sem. on High Temperature
Superconductivity Research in Thailand, 23 - 25 June, 1993.
2. Pisith Singjai, Saman Songtrakool,
Wijit Choawanklang and Nikorn Mangkorntong, "Non- vacuum Cryostat for
Resistivity Measurement for 80 - 300 K", 4th Sem. On High Temperature
Superconductivity Research in Thailand, 23 - 25 June, Chiang Mai, Thailand,
147 - 145)1993).
3. Suparerk Aukkaravittayapun,
Atcharawon Gardchareon, Suparp Na Chiang Mai, Pongsri Mangkorntong, Sripen
Towta and Nikorn Mangkorntong, "Preparation of YBa2Cu3O7-x Superconductor
by Powder Melting Process", 19th Cong. on Sci. and Tech. of Thailand,
27 - 29 Oct., 195 - 5(1993).
4. Tewin Moonwan, Pisith Singjai,
Sornchai Tanonchai, Nikorn Mangkorntong, Pongsri Mangkorntong and Sripen
Twota., "Preparation of BixPbySr2Ca2Cu3Oz Superconductor" 19th
Cong. on Sci. and Tech. of Thailand, 27 - 29 Oct. 1993.
5. Nikorn Mangkorntong, Suparp
Na Chiang Mai, Pongsri Mangkorntong, Sripen Towta, Atcharawon Gardchareon
and Sornchai Tanonchai., "Effect of Adding Non-superconducting Y2BaCuO5
of YBa2Cu3O7-y ", 20th Cong. Sci. and Tech., Bangkok, Thailand, 19
- 21 Oct.,
180 - 1 (1994).
6. Nikorn Mangkorntong, JC Measurement
Techniques for HTSC, Workshop on High Temperature Superconductivity Research,
Chiang Mai, Thailand, 12 - 16 December, 1994.
7. Nikorn Mangkorntong, "Introduction
to Vacuum Physics", Workshop on Sputtering Technique for Thin Films
Material Fabrication, Chiang Mai, Thailand, 8 - 12 May 1995.
8. Nikorn Mangkorntong, "Vacuum
Systems and Applications", Workshop on Sputtering Technique for Thin
Films Material Fabrication, Chiang Mai, Thailand, 8 - 12 May 1995.
9. Nikorn Mangkorntong, Suparp
Na Chiangmai, Sripen Towta, Pongsri Mangkorntong, Atcharawon Gardchareon,
Sornchai Tanunchai, Chumni Cangphagdee and Suwit
Wongsila., Effect of Preparing YBa2Cu3O7-x Superconductor by the Modified
Powder Melt Growth Process on Critical Current Density, 21st Cong. Sci.
and Tech.,
Chonburi , Thailand, 25 - 27 Oct., 92 - 3, 1995.
10.
Songsan Siriwattanavibul, Sornchai Tanunchai, Suparp Na Chiangmai, Pongsir
Mangkrontong and Sripen Towta., Effect of Ag Addition on Critical Current
Density
of YBa2Cu3O7-x., 21st Cong. Sci. and Tech., Chonburi , Thailand, 25 - 27
Oct., 116 - 7, 1995.
11. Nikorn Mangkorntong, Suparp
Na Chiangmai, Sripen Towta, Pongsri Mangkorntong, Atcharawon Gardchareon,
Sornchai Tanunchai, Chumni Cangphagdee and Suwit
Wongsila., The effect of Y2BaCuO5 content on current density of YBa2Cu3O7-x
prepared by a Modified powder melt growth process, 22nd Cong. Sci. and Tech.,
Bangkok,
Thailand, 16 - 18 Oct., 130 - 1, 1996.
12. Weeranut Songponwanich, Sripen
Towta, Nikorn Mangkorntong, Pongsri Mangkorntong, Atcharawon Kardchareon
and Chumni Sangphagdee., Growth of Bi2Sr2CaCu2Ox whiskers, 22th Cong. Sci.
and Tech. of Thailand, 16 - 18 Oct., 1996.
13. Pairote Ek-uran, Nikorn Mangkorntong,
Suparp Na Chiangmai, Sripen Towta, Atcharawon Gardchareon and Saman Songtrakool.,
Hall coeffieient and resistivity in sputtered Cu film, 22th Cong. Sci. and
Tech. of Thailand, 16 - 18 Oct., 1996.
14. Sripen Towta, Nikorn Mangkorntong,
Pongsri Mangkorntong, Nuwat Pimpabut, Sornchai Tanunchai and Suwit Wongsila.,
Hall Mobility in Bulk YBa2(Cu1-xFex)3O7-d , 27th Cong. Sci. and Tech. of
Thailand, 16 - 18 Oct., 2001.
15. Pongsri Mangkorntong, Sripen
Towta, Nikorn Mangkorntong, Agaluk Pharasak and Sornchai Tananchai., Growth
of Bi(Pb)-Sr-Ca-Cu-O Superconducting Whisker by Melt-Quenched Method, 27th
Cong. Sci. and Tech. of Thailand, 16 - 18 Oct., 2001.
16. Nikorn Mangkorntong, Pongsri
Mangkorntong, Sripen Towta, Suvit Thanasanvorakun and Suwit Wongsila., Growth
of Bi2Sr2Ca4Cu6PbyO10+x (y = 0 and 0.5) Superconducting Whiskers, 27th Cong.
Sci. and Tech of Thailand, 16 - 18 Oct., 2001.
17. Suwit Wongsila and Nikorn Mangkorntong.,
Computer Program for Characterization of Critical Current Density of High
Temperature Superconductor, 27th Cong. Sci. and Tech. of Thailand, 16 -
18 Oct., 2001.
18. Nikorn Mangkorntong, Pongsri
Mangkorntong, Sripen Towta, Supab Choopun, Sornchai Tanunchai, Wandared
Pokapanich and Suwit Wongsila, Mechanical Strength and Color Fastness of
Cotton Fabrics Coated with Titanium, 28th Cong. Sci. and Tech. of Thailand,
24-26 October 2002.
19.
Nikorn Mangkorntong, Pongsri Mangkorntong, Supab Choopun, Suwit Wongsila,
Narong Khadkam and Sornchai Tanunchai, Furnace Temperature Controller for
High TC Superconductor Preparation, 28th Cong. Sci. and Tech. of Thailand,
24-26 October 2002.
20. Pongsri Mangkorntong, Nikorn
Mangkorntong, Sripen Towta, Atcharawon Gardchareon, Sornchai Tanunchai,
Nuchjira Dejang and Suwit Wongsila, Anisotropic Resistivity of La2-x SrxCuO4
Single Crystal, 28th Cong. Sci. and Tech. of Thailand, 24-26 October 2002.
21. Nikorn Mangkornton g, Pongsri
Mangkorntong, Supab Choopun, Piyanop Subjareon, Sornchai Tanunchai and Suwit
Wongsila, Preparation of MoO3 Whiskers for Gas Sensor, 28th Cong. Sci. and
Tech. of Thailand, 24-26 October 2002.
22. Supab Choopun, Nikorn Mangkorntong,
Pongsri Mangkorntong, Panuwat Chaiyachate and Suwit Wongsila, Fabrication
and Characterization of B(Pb)SCCO Superconducting Whisker Junctions, 28th
Cong. Sci. and Tech. of Thail and, 24-26 October 2002.
23. Panuwat Chaiyachate, Suwit
Wongsila, Supab Choopun, Pongsri Mangkorntong and Nikorn Mangkorntong, Fabrication
and Characterization of Bi(Pb)-Sr-Ca-Cu-O Superconducting Whisker Junction,
The Second Thailand Materials Science and Technology Conference : Materials
Science and Technology for a Sustainable Development of Thailand, 6 - 7
September 2002, Bangkok, Thailand
24. Wandared Pokapanich, Suwit
Wongsila, Sornchai Tanunchai, Supab Choopun, Pongsri Mangkorntong and Nikorn
Mangkorntong, Mechanical Properties of Sputtered Aluminium Oxide Film Coated
on Cotton, The Second Thailand Materials Science and Technology Conference
: Materials Science and Technology for a Sustainable Development of Thailand,
6 - 7 September 2002, Bangkok, Thailand
6.3
ความร่วมมือกับสถาบันต่างประเทศ
1. สมาชิกห้องปฏิบัติการวิจัย อ.อัจฉราวรรณ
กาศเจริญ ทำวิจัยต่อระดับปริญญาเอก ณ Uppsala University, ประเทศสวีเดน ตั้งแต่ปี
2544
2. สมาชิกห้องปฏิบัติการวิจัย ด.ดร.สุภาพ
ชูพันธ์ ทำวิจัยต่อระดับหลังปริญญาเอกณ Osaka University, ประเทศญี่ปุ่น ปี
2546
6.4
โครงการวิจัยที่ได้รับทุน
1. Research on High Temperature
Superconductivity : Thermal property ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก STDB ปี
2532 - 2534
2. การสังเคราะห์สารตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงในกลุ่มออกไซด์
Bi-Sr-Ca-Cu ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ปี 2532
3. A computer program for characterization
of high temperature superconductors ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก STDB ปี
2534 - 2535
4. การสังเคราะห์สารตัวนำยวดยิ่งที่มีอุณหภูมิสูงกว่า
120 เคลวิน (ตอน 1, 2) ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปี 2535, 2536
5. สมบัติทางไฟฟ้าและโครงสร้างของสารตัวนำยวดยิ่ง
YBa2(Cu1-xFex)3O7-y ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปี 2537
6. หัววัดตัวนำยวดยิ่งเพื่อวัดระดับไนโตรเจน
ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปี 2537
7. ระบบอัตโนมัติสำหรับกระแสวิกฤตของสารตัวนำยวดยิ่ง
ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปี 2538
8. การเพิ่มความหนาแน่นกระแสวิกฤตของสารตัวนำยวดยิ่ง
YBCO โดยการเติม Ag (เฟส 1, 2) ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปี 2539, 2540
9. เทคนิคการวัดความหนาแน่นกระแสวิกฤตของสารตัวนำยวดยิ่งโดยใช้กระแสแบบพัลส์
(เฟส 1, 2) ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปี 2540, 2541
10. การฟาบริเคทสารตัวนำยวดยิ่ง
YBCO ความหนาแน่นกระแสวิกฤตสูง ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย จาก ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
ปี 2535
11. สภาพต้านทานแอนไอโซทรอปิกของผลึกเชิงเดี่ยวในระบบ
La2-xSrxCuO4 (ปีที่ 1, 2) ได้รับทุน สนับสนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปี 2542, 2543
12. การศึกษาปริมาณของออกซิเจนที่มีผลต่อค่าอุณหภูมิวิกฤต
(TC) และค่าความหนาแน่นกระแส วิกฤต (JC) ของสารตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูง YBa2Cu3O6+x
(ปีที่ 1, 2) ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปี 2542, 2543
13. ปรากฏการณ์ฮอลล์เหนืออุณหภูมิวิกฤต
(TC) ในสารตัวนำยวดยิ่งออกไซด์ YBa2Cu3-xFexO7+d (ปีที่ 1, 2) ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก
สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปี 2542, 2543
14. ระบบควบคุมสำหรับเตาเผาสารเพื่อใช้ในการเตรียมสารซูเปอร์คอนดักเตอร์อุณหภูมิสูง
ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานอธิการบดี ปี 2544
15.
การเปลี่ยนแปลงสมบัติสิ่งทอด้วยกระบวนการพลาสมา ได้รับการสนับสนุนการวิจัยจาก
สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปี 2544
16. การสร้างเครื่องตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ในลมหายใจ,
ทุนอุดหนุนทั่วไป, สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, งบประมาณ 230,200
บาท, ปี 2546
17. กระบวนการพลาสมาเพื่อปรับเปลี่ยนสมบัติของสิ่งทอ,
ทุนอุดหนุนทั่วไป, สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, งบประมาณ 173,200
บาท, ปี 2546
18. การศึกษาการปลูกวิสเกอร์โมลิบดีนัมไตรออกไซด์เพื่อประยุกต์ใช้เป็นอุปกรณ์ตรวจจับก๊าซ,ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,
มูลนิธิโทเร เพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย (TTSF), งบประมาณ 200,000
บาท, ปี 2546
19. การศึกษาคุณสมบัติเชิงไฟฟ้าและเชิงแสงของน้ำผึ้ง,
งบประมาณเงินรายได้, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, งบประมาณ 30,000
บาท, ปี 2545
20. การศึกษาสมบัติเชิงไฟฟ้าและเชิงแสงของฟิล์มสารประกอบ
MgxZn1-xO ที่เตรียมโดยวิธี planar magnetron sputtering, ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่,
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย,
งบประมาณ 440,000 บาท, ปี 2545
7. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการในปีที่ผ่านมา
7.1 ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
1. B. Lake, H. M. Ronnow, N. B.
Christensen, G. Aeppli, K. Lefmann, D. F. Mcmorrow, P. Vorderwisch, P. Smeibidl,
N. Mangkorntong, T. Sasagawa, M. Nohara, H. Takagi and T. E. Mason Antiferromagnetic
order induced by an applied magnetic field in a high-temperature superconductor,
Nature, 415, 299 (2002). Impact factor 25.814 : Journal Citation Reports,
2000.
2. B. Lake, G. Aeppli, K. N. Clausen,
D. F. McMorrow, K. Lefmann, N. E. Hussey, N. Mangkorntong, M. Nohara, H.
Takagi, T. E. Mason and A. Schrode Spins in the vortices of a
high temperature superconductor, Science Magazine, 291 (5509) : 1759, 2001.
Impact factor 23.872 : Journal Citation Reports, 2000.
3. Minoru Nohara, Hiroaki Suzuki,
Masanobu Isshiki, Nikorn Mangkorntong, Fumiko Sakai and Hidenori Takagi
Quasiparticle Density of State of Clean and Dirty d-Wave
Superconductors : Mixed-State Specific Heat of La2-xSrxCuO Single Crystals,
Journal of the Physical Society of Japan Vol.69, No.6, June, pp.1602-1605,
2000. Impact factor 1.943 : Journal Citation Report, 2000. Impact factor
1.943 : Journal Citation Reports, 2000.
4.
M. Nohara, H. Suzuki, N. Mangkorntong, and H. Takagi Impurity-induced gap
renormalization in anisotropic superconductors : Mixed-state specific heat
of La2-xSrx (Cu1-yZny)O4 and Y(Ni1-xPtx)2B2C , Physica C , 341-348 (2000)
2177-2180. Impact factor 1.489 : Journal Citation Report, 2000.
5. H. Suzuki, M. Nohara, N. Mangkorntong
and H. Takagi Low-temperature specific heat of La2-xSrxCuO4 in the vortex
state, Meeting Abstracts of the Physical Society of Japan, Volume
54, Issue 2, Page 448, Sectional Meeting, September 24-27, Iwate University,
1999.
6. A Parent Compound of the simplest
High-TC Superconductor with Double CuO2 Planes : Crystal Growth and Characterization
of La2CaCu2O6+d", Preprint to be submitted to Elsevier Science
7.2
ผลงานวิจัยที่เสนอในที่ประชุมต่าง ๆ
1. Nikorn Mangkorntong, Pongsri
Mangkorntong, Sripen Towta, Supab Choopun, Sornchai Tanunchai, Wandared
Pokapanich and Suwit Wongsila, Mechanical Strength and Color Fastness of
Cotton Fabrics Coated with Titanium, 28th Cong. Sci. and Tech. of Thailand,
24-26 October 2002.
2. Nikorn Mangkorntong, Pongsri
Mangkorntong, Supab Choopun, Suwit Wongsila, Narong Khadkam and Sornchai
Tanunchai, Furnace Temperature Controller for High TC Superconductor Preparation,
28th Cong. Sci. and Tech. of Thailand, 24-26 October 2002.
3. Pongsri Mangkorntong, Nikorn
Mangkorntong, Sripen Towta, Atcharawon Gardchareon, Sornchai Tanunchai,
Nuchjira Dejang and Suwit Wongsila, Anisotropic Resistivity of La2-xSrxCuO4
Single Crystal, 28th Cong. Sci. and Tech. of Thailand, 24-26 October 2002.
4. Nikorn Mangkorntong, Pongsri
Mangkorntong, Supab Choopun, Piyanop Subjareon, Sornchai Tanunchai and Suwit
Wongsila, Preparation of MoO3 Whiskers for Gas Sensor, 28th Cong. Sci. and
Tech. of Thailand, 24-26 October 2002.
5. Supab Choopun, Nikorn Mangkorntong,
Pongsri Mangkorntong, Panuwat Chaiyachate and Suwit Wongsila, Fabrication
and Characterization of B(Pb)SCCO Superconducting Whisker Junctions, 28th
Cong. Sci. and Tech. of Thailand, 24-26 October 2002.
6.
Panuwat Chaiyachate, Suwit Wongsila, Supab Choopun, Pongsri Mangkorntong
and Nikorn Mangkorntong, Fabrication and Characterization of Bi(Pb)-Sr-Ca-Cu-O
Superconducting Whisker Junction, The Second Thailand Materials Science
and Technology Conference : Materials Science and Technology for a Sustainable
Development of Thailand, 6 - 7 September 2002, Bangkok, Thailand
7. Wandared Pokapanich, Suwit Wongsila,
Sornchai Tanunchai, Supab Choopun, Pongsri Mangkorntong and Nikorn Mangkorntong,
Mechanical Properties of Sputtered Aluminium Oxide Film Coated on Cotton,
The Second Thailand Materials Science and Technology Conference : Materials
Science and Technology for a Sustainable Development of Thailand, 6 - 7
September 2002, Bangkok, Thailand
8. Sripen Towta, Nikorn Mangkorntong,
Pongsri Mangkorntong, Nuwat Pimpabut, Sornchai Tanunchai and Suwit Wongsila.,
Hall Mobility in Bulk YBa2(Cu1-xFex)3O7-d , 27th Cong. Sci. and Tech. of
Thailand, 16 - 18 Oct., 2001.
9. Pongsri Mangkorntong, Sripen
Towta, Nikorn Mangkorntong, Agaluk Pharasak and Sornchai Tananchai., Growth
of Bi(Pb)-Sr-Ca-Cu-O Superconducting Whisker by Melt-Quenched Method, 27th
Cong. Sci. and Tech. of Thailand, 16 - 18 Oct., 2001.
10. Nikorn Mangkorntong, Pongsri
Mangkorntong, Sripen Towta, Suvit Thanasanvorakun and Suwit Wongsila., Growth
of Bi2Sr2Ca4Cu6PbyO10+x (y = 0 and 0.5) Superconducting Whiskers, 27th Cong.
Sci. and Tech of Thailand, 16 - 18 Oct., 2001.
11. Suwit Wongsila and Nikorn Mangkorntong.,
Computer Program for Characterization of Critical Current Density of High
Temperature Superconductor, 27th Cong. Sci. and Tech. of Thailand, 16 -
18 Oct., 2001.
7.3
ถ้าเป็นการมีความร่วมมือของห้องปฏิบัติการวิจัย/หน่วยวิจัย กับสถาบันต่างประเทศ
ให้ระบุ
1. สมาชิกห้องปฏิบัติการวิจัย อ.อัจฉราวรรณ
กาศเจริญ ทำวิจัยต่อระดับปริญญาเอก ณ Uppsala University, ประเทศสวีเดน ตั้งแต่ปี
2544
2. สมาชิกห้องปฏิบัติการวิจัย ด.ดร.สุภาพ
ชูพันธ์ ทำวิจัยต่อระดับหลังปริญญาเอก ณ Osaka University, ประเทศญี่ปุ่น ปี
2546
7.4
โครงการวิจัยที่ได้รับทุน
1. การสร้างเครื่องตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ในลมหายใจ,
ทุนอุดหนุนทั่วไป, สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, งบประมาณ 230,200
บาท, ปี 2546
2. กระบวนการพลาสมาเพื่อปรับเปลี่ยนสมบัติของสิ่งทอ,
ทุนอุดหนุนทั่วไป, สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, งบประมาณ 173,200
บาท, ปี 2546
3. การศึกษาการปลูกวิสเกอร์โมลิบดีนัมไตรออกไซด์เพื่อประยุกต์ใช้เป็นอุปกรณ์ตรวจจับก๊าซ,ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,
มูลนิธิโทเร เพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย (TTSF), งบประมาณ 200,000
บาท, ปี 2546
4. การศึกษาคุณสมบัติเชิงไฟฟ้าและเชิงแสงของน้ำผึ้ง,
งบประมาณเงินรายได้, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, งบประมาณ 30,000
บาท, ปี 2545
5. การศึกษาสมบัติเชิงไฟฟ้าและเชิงแสงของฟิล์มสารประกอบ
MgxZn1-xO ที่เตรียมโดยวิธี planar magnetron sputtering, ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่,
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย,
งบประมาณ 440,000 บาท, ปี 2545
7.5.
ถ้ามีการให้บริการวิชาการ ให้ระบุ
1. ให้บริการเกี่ยวกับงานวิจัยในการใช้เครื่องอัดสาร
แก่นักศึกษาระดับปริญญาโท ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จำนวน 10 ชั่วโมง
2. ให้บริการเกี่ยวกับงานวิจัยในการใช้เครื่องวัด
TC และ JC แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรี ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จำนวน 20
ชั่วโมง
3. นักศึกษาระดับปริญญาตรี ปีที่
3 ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จำนวน 6 คน มาฝึกงานเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือต่าง
ๆ ของห้องวิจัยฯ ระยะเวลาประมาณ 2 เดือน
4. นักศึกษาระดับปริญญาตรี ปีที่
2 ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ จำนวน 6 คน มาฝึกงานเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือต่าง
ๆ ของห้องวิจัยฯ ระยะเวลาประมาณ 2 เดือน
7.6
ถ้ามีการบูรณาการกิจกรรมวิจัยร่วมกับการเรียนการสอนทุกระดับ ให้ระบุ
1. วิทยานิพนธ์เรื่อง การสร้างหัวตรวจจับก๊าซจากวิสเกอร์โมลิบดีนัมไตรออกไซด์,
นักศึกษา นายปิยะนพ ทรัพย์เจริญ, อาจารย์ผู้ดูแล รศ.ดร.นิกร มังกรทอง, เกี่ยวข้องกับโครงการวิจัยเรื่อง
การสร้างเครื่องตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ในลมหายใจ และเรื่อง การศึกษาการปลูกวิสเกอร์โมลิบดีนัมไตรออกไซด์เพื่อประยุกต์ใช้เป็นอุปกรณ์ตรวจจับก๊าซ
2.
วิทยานิพนธ์เรื่อง ผลของการเติมอะลูมิเนียมออกไซด์สารตั้งต้นต่อการปลูกวิสเกอร์ตัวนำยวดยิ่ง
Bi-Sr-Ca-Cu-O, นักศึกษา นายธีระพงษ์ แสนทวีสุข, อาจารย์ผู้ดูแล รศ.ดร.ผ่องศรี
มังกรทอง,
เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนทางด้าน Superconductivity
3. วิทยานิพนธ์เรื่อง การใช้เทคนิคโกลวดิสชาร์จสำหรับปรับปรุงคุณภาพสิ่งทอ,
นักศึกษา นส.วรรณดาเรศ โภคาพานิช, อาจารย์ผู้ดูแล รศ.ดร.นิกร มังกรทอง, เกี่ยวข้องกับโครงการวิจัย
เรื่อง กระบวนการพลาสมาเพื่อปรับเปลี่ยนสมบัติของสิ่งทอ
4. วิทยานิพนธ์เรื่อง ลักษณะเฉพาะทางการนำไฟฟ้าและการส่งผ่านเชิงแสงของน้ำผึ้ง,นักศึกษา
นายวิทวัส พลหาญ, อาจารย์ผู้ดูแล รศ.ดร.นิกร มังกรทอง, เกี่ยวข้องกับโครงการ
วิจัยเรื่อง การศึกษาคุณสมบัติเชิงไฟฟ้าและเชิงแสงของน้ำผึ้ง
5. การค้นคว้าอิสระเรื่อง การเตรียมฟิล์มบางของสาร
ZnO ที่เจือด้วย Cu และ Al โดยวิธี อาร์เอฟแมกนิตรอนสปัตเตอร์ริง, นักศึกษา
นายศักสิทธิ์ คำภามิ่ง, อาจารย์ผู้ดูแล อ.ดร.สุภาพ ชูพันธ์,
เกี่ยวข้องกับโครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาสมบัติเชิงไฟฟ้าและเชิงแสงของฟิล์มสารประกอบ
MgxZn1-xO ที่เตรียมโดยวิธี planar magnetron sputtering
6. การค้นคว้าอิสระเรื่อง การเตรียมฟิล์มบางของเฟสเฮกซะโกนอลของสารประกอบ
Mg0.25Zn0.75O โดยวิธี อาร์เอฟ แมกนิตรอนสปัตเตอร์ริง, นักศึกษา นายศักดิ์รพี
ตุ่ยไชย, อาจารย์ผู้ดูแล อ.ดร.สุภาพ ชูพันธ์, เกี่ยวข้องกับโครงการวิจัยเรื่อง
การศึกษาสมบัติเชิงไฟฟ้าและเชิงแสงของฟิล์มสารประกอบ MgxZn1-xO ที่เตรียมโดยวิธี
planar magnetron sputtering
7. การค้นคว้าอิสระเรื่อง การเตรียมฟิล์มบางของสาร
ZnO ที่เจือด้วย Al โดยวิธีอาร์เอฟแมกนิตรอนสปัตเตอร์ริง, นักศึกษา นายเอกสิทธิ์
วงศ์ราษฎร์, อาจารย์ผู้ดูแล อ.ดร.สุภาพ ชูพันธ์, เกี่ยวข้องกับโครงการวิจัยเรื่อง
การศึกษาสมบัติเชิงไฟฟ้าและเชิงแสงของฟิล์มสารประกอบ MgxZn1-xO ที่เตรียมโดยวิธี
planar magnetron sputtering
8. แผนดำเนินการและผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้านต่าง
ๆ ในรอบปีที่คาดว่าจะได้รับการต่ออายุ
1. จัดสัมมนาทางด้าน กระบวนการพลาสมาเพื่อปรับเปลี่ยนสมบัติของสิ่งทอ
ในช่วงเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2547 ระยะเวลาการสัมมนาประมาณ 2 วัน
2. จัดสัมมนาทางด้าน การสร้างเครื่องตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ในลมหายใจ
ในช่วงเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2547 ระยะเวลาการสัมมนาประมาณ 2 วัน
4. เขียนบทความผลงานวิจัย/วิชาการ
เพื่อตีพิมพ์ในวารสารต่าง ๆ ประมาณ 2 - 3 บทความ
5. ดำเนินการวิจัยของโครงการวิจัยที่ได้รับทุน
จำนวน 4 โครงการ ตามแผนดำเนินการ
ตารางแผนการดำเนินงานของแต่ละโครงการ
โครงการ
|
เดือน
|
||||||
ตค.45--พย.45
|
ธค.45--มค.46
|
กพ.46--มีค.46
|
เมย.46--พค.46
|
มิย.46--กค.46
|
สค.46--กย.46
|
ตค.46--พย.46
|
|
1. กระบวนการพลาสมาเพื่อปรับเปลี่ยน
สมบัติของสิ่งทอ |
ทำการศึกษาวิจัย
|
รายงานความก้าวหน้า
ครั้งที่ 1 |
ทำการศึกษาวิจัย
|
รายงานฉบับสมบูรณ์
|
|||
2. การสร้างเครื่องตรวจวัดปริมาณ
แอลกอฮอล์ในลมหายใจ |
ทำการศึกษาวิจัย
|
รายงานความก้าวหน้า
ครั้งที่ 1 |
ทำการศึกษาวิจัย
|
รายงานฉบับสมบูรณ์
|
|||
3. การศึกษาคุณสมบัติเชิงไฟฟ้าและเชิง
แสงของน้ำผึ้ง |
ทำการศึกษาวิจัย
|
รายงานความก้าวหน้า
ครั้งที่ 1 |
ทำการศึกษาวิจัย
|
รายงานฉบับสมบูรณ์
|
|||
4. การศึกษาการปลูกวิสเกอร์โมลิบดีนัม
ไตรออกไซด์เพื่อประยุกต์ใช้เป็นอุปกรณ์ ตรวจจับก๊าซ |
-
|
ทำการศึกษาวิจั
|
รายงานฉบับสมบูรณ์
|
9. ผลของการประเมินในปีที่ผ่านมา
ห้องปฏิบัติการวิจัยฟิสิกส์ประยุกต์
ได้ดำเนินการวิจัย และเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่ดีถึงดีมาก
เนื่องจาก
1. ผลงานวิจัยเรื่อง การสร้างและการหาลักษณะเฉพาะของรอยต่อวิสเกอร์ตัวนำยวดยิ่ง
B(Pb)SCCO ได้รับรางวัล เป็นผลงานที่นำเสนอโปสเตอร์แบบดี ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
ครั้งที่ 28 วันที่ 24-26 ตุลาคม 2546
2. มีบทความทางวิชาการ ที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุแห่งประเทศไทย
ครั้งที่ 2 (MSAT II) , 6-7 สิงหาคม 2545, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ
จำนวน 2 เรื่อง
3. มีบทความทางวิชาการที่นำเสนอในการประชุมการวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
ครั้งที่ 28 (วทท.28), 24-26 ตุลาคม 2545, ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
กรุงเทพฯ จำนวน 5 เรื่อง
4. ได้รับทุนสนับสนุนการทำวิจัย
จำนวน 4 โครงการ
5. มีบุคลากรของห้องปฏิบัติการวิจัยเดินทางไปทำวิจัยต่อระดับปริญญาเอก
และวิจัยต่อระดับหลังปริญญาเอกต่างประเทศ