1 ชื่อหน่วยวิจัย | เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการพัฒนาทรัพยากรการเกษตร Biotechnology for Agricultural Resources Development |
ภาควิชา | เคมี |
2. ชื่อผู้ประสานงาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นวลศรี รักอริยะธรรม
3. สมาชิก ดร. ภควรรณ หนองขุ่นสาร
4. ปีที่เริ่มจัดตั้ง 2540
5. กิจกรรมของหน่วยวิจัยที่ได้ดำเนินการในปีที่ผ่านมา
5.1 ทำการวิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
อาทิ เมล็ดมัสตาร์ด ลำไยและสมุนไพรไทย
5.2 ผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากธรรมชาติหรือโดยการสังเคราะห์เพื่อใช้ทางยา
5.3 ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน
5.4 เผยแพร่ผลงานทางวิทยุ โทรทัศน์ วารสารในประเทศและต่างประเทศ
6. ประวัติผลงานที่ผ่านมานับตั้งแตก่อตั้งหน่วยวิจัย
1. Wisedchisri, G. and Rakariyatham,
N. 1997. Isolation of Erucic Acid from Mustard Oil by Lipase-Catalysed and Alkali
Hydrolysis, International Conference on Biodiversity and Bioresources Conservation
and Utilization, Phuket, Thailand, 23 Nov.
2. Nawarak, J. and Rakariyatham, N.
1997. Amylase from Germinating Wheat Grain, International Conference on Biotechnology
: An Essential Tool for Future Development, Nakhorn Ratchasima, Thailand, 19
Nov.
3. Trakansirinont, W. and Rakariyatham,
N. 1998. Phenolic Compounds of Mustard Protein Fraction. Congress on Science
and Technology of Thailand. Bangkok, Thailand, 19-21 Oct.
4. Wisedchaisri, G., Rakariyatham,
N. and Deming, R. 1999. Optimum Condition for the Isolation of Fatty Acids from
Mustard Seed Oil. 217th American Chemical Society National Meeting. Anaheim,
USA, 21-25 Mar.
5. Trakansirinont, W. and Rakariyatham,
N. 1999. Contribution of Phenolic Compounds in Mustard (Brassica juncea) Seed.
4th Princess Chulabhon International Science Congress (Chemical in the 21st
Century). Bangkok, Thailand, 28 Nov.-2 Dec..
6. Tinoi, R. and Rakariyatham, N. 1999.
Isolation of Fatty Acid from Mustard Seed Oil by Low-Temperature Crystallization.
25th Congress on Science Technology of Thailand. Bangkok, Thailand, 20-20 Oct..
7. Sakorn, P., Rakariyatham, N., Niamsap,
H. and Kovitaya, P. 1999. Sinigin Degradation by Aspergillus sp. NR-4201 in
Liquid Cutivation. Science Asia, 25 : 187-192.
8. Nawarak, J., Niumsup, H., and Rakariyatham,
N. 1999. Citronella Oil Encapsulation in Dextrin. J. Sci. Fac. CMU, 26 : 65-73.
9. Trakarnsitinont, W. and Rakariyatham,
N. 2000. Phenolic Compounds in Protein Fraction of Processed Mustard Meal. Chaing
Mai J. Sci., 27 : 1-8.
10. Sathimapornpong,K. and Rakariyatham,N.2000.
Growth of Bacteria on Mustard protein Media. 12th Annual Meeting of Thai Society
for Biotechnology. Kanchanaburi, Thailand.
11. Tinoi ,R, Niumsup,H. and Rakariyatham,N.
2000. Isolation of Erucic Acid from Mustard Seed Oil by Lipase Hydrolysis and
Crystallization. Chiang Mai J. Sci. 27(2), 89-101.
12. Sakorn,P., Rakariyatham,N., Niumsup,H.
and Kovitaya,P. 2000. Sinigrin Degradation by Aspergillus sp. NR-4201 in Liquid
Culture.RGJ-Ph.D. Congress 2-4 May, Kanchanaburi,Thailand.
13. Chenwitheesuk, A and Rakariyatham,
N. 2000. Antioxidant Activity of Some Thai Herbs. 12th Annual Meeting of Thai
Society for Biotechnology. Kanchanaburi, Thailand.
14. Butrindr,B and Rakariyatham, N.
2000. Hydrolysis of Mung Bean Flour by Protease.12th Annual Meeting of ThaiSocietyforBiotechnology.Kanchanaburi,
Thailand.
15. Tinoi, R. and Rakariyatham,N. 2000.
Characterization of Extracellular Lipase in Liquid Culture of Aspergillus sp..
26th Congress Sci. Tech.Thailand.
16. นวลศรี รักอริยะธรรม การแสดงผลงานทางวิชาการร่วมกับพาณิชย์
จ. ลำพูนในงานวันลำไยโลก "โครงการพัฒนาและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ลำไย"
เพื่อพัฒนาส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการกระจายการผลิตลำไยในระดับจังหวัด 26 กค.
2543 ณ.สนามกีฬา จ. ลำพูน
17. นวลศรี รักอริยะธรรม จดอนุสิทธิบัตร
เรื่อง การทำธูปหอมจากเปลือกลำไย ณ.สำนักงาน พาณิชย์ จ. เชียงใหม่ 1 ส.ค. 2543.
18. Rakariyatham,N. 2000. Development
and Value-Added of Longan Products. Science. 54,250-253.
19. นวลศรี รักอริยะธรรม การเผยแพร่ผลงาน
การแปรรูปเปลือกลำไยเป็นธูปหอมลำไย โดย หนังสือพิมพ์ มติชน ฉบับ วันที่ 17 มีนาคม
2544 หน้า 11.
20. นวลศรี รักอริยะธรรม.(2544) คู่มือการถ่ายทอดเทคโนโลยี
การแปรรูปเปลือกลำไยเป็นธูปหอมลำไย. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
21. นวลศรี รักอริยะธรรม จดคู่มือลิขสิทธิ์
เรื่อง คู่มือการถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปเปลือกลำไยเป็นธูปหอมลำไย ณ.สำนักงานพาณิชย์
จ. เชียงใหม่ 16 มีนาคม 2544
22. ถ่ายทอดเทคโนโลยี การทำธูปหอมจากเปลือกลำไย
ครั้งที่ 1 ให้กับผู้นำชาวบ้านได้แก่ อบต. อบจ. วิทยากรจังหวัดและอำเภอจำนวน 120
คน ณ. โรงเรียน มงคลวิทยา จังหวัดลำพูน วันที่ 22และ23 กุมภาพันธ์ 2544
23. ถ่ายทอดเทคโนโลยี การทำธูปหอมจากเปลือกลำไย
ครั้งที่ 2 ให้กับเกษตรกรผู้ปลูกลำไย แม่บ้านและผู้ประกอบการ จำนวน120 คน ณ. อาคารคุณธรรม
ศูยน์บริการนักท่องเที่ยว จังหวัดลำพูนโรงเรียน มงคลวิทยา จังหวัดลำพูน วันที่
3และ4 พฤษภาคม 2544.
24. Chenwitheesuk, A and Rakariyatham,
N. 2001. Antioxidant Activity from Stevia. Bio-Thailand.7-10 Nov. Bangkok, Thailand.
25. Butrindr,B. and Rakariyatham, N.
2001. Effect of Shaking on the Mycelial Growth and Myrosinase Production by
Liquid Culture of Aspergillus sp.. Bio- Thailand.7-10 Nov. Bangkok, Thailand.
26. Wongkham, P. Rakariyatham,N. and
Niumsup,H.2001. Production of Kapi from Mung Bean Protein Waste. Bio-Thailand.7-10
Nov. Bangkok, Thailand.
27. Rakariyatham,N. and Sakorn,P. 2001.
Allylisothaiocyanate Production from Brown Mustard Seeds (Brassica juncea) by
Aspergillus Myrosinase. Bio- Thailand.7-10 Nov. Bangkok, Thailand.
28. Sathimapornpong,K. and Rakariyatham,N.2001.Protease
Production by Bacillus sp. Grown on Mustard Protein Media. 27th Congress on
Science and Technology of Thailand. Songkla , Thailand.
29. Tinoi ,R. and Rakariyatham,N.2001.Production
and Characterization of Extracellular Lipase from Aspergillus sp. in Mustard
Cake. 27th Congress on Science and Technology of Thailand. Songkla , Thailand
30. Chenwitheesuk, A and Rakariyatham,
N. 2001.Phenolic Antioxidant from Leucaena leucocephala de Wit. 27th Congress
on Science and Technology of Thailand. Songkla , Thailand.
31. นวลศรี รักอริยะธรรม 2544 น้ำมันหอมมัสตาร์ด
ฝีมือนักวิจัยไทย กรุงเทพธุรกิจ วันที่5 กันยายน ปี่ที่ 14 ฉบับที่ 4731.
32. นวลศรี รักอริยะธรรม 2544 น้ำมันหอมมัสตาร์ด
มันสมองของนักวิจัยไทยนักวิจัยไทย ไทยโพสต์เอกซ-ไซท์ วันที่ 7 กันยายน.
33. นวลศรี รักอริยะธรรม 2544 น้ำมันหอมระเหยมัสตาร์ดจาก
มันสมองของนักวิจัย เดลินิวส์ วันที่ 8 กันยายน.
34. นวลศรี รักอริยะธรรม 2544 โครงการผลิตน้ำมันหอมระเหยจากเมล็ดมัสตาร์ดไทย
ประชาคมวิจัย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) ประจำเดือนกรกฎาคม.
35. นวลศรี รักอริยะธรรม 2544 น้ำมันหอมระเหยจากเมล็ดมัสตาร์ด
รายการร่วมแรงร่วมใจ สถานีวิทยุ มก.(มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) วันที่ 5 กันยายน
เวลา 17.00 น-18.00 น.
36. Pramokchon, P.Rakariyatham, N.
and Niamsup H. 2002. Antifungal from Rambutan ,International Conference &
Exhibion on Pure and Applied Chemistry ,May 29-31, Bangkok ,Thailand,2002.
37. Sakorn, P.and Rakariyatham, N.
2002. Production,Purification and Characterization of an Intracellular Myrosinase
from Aspergillus sp NR- 4201,RGJ-phD Congress III,Chonburi,Thailand(25-27 Avril
).
38. Chanwitheesuk, A,Rakariyatham,
N. and Apiwat Teerawutgulrag.2002. Phenolic Compounds from Ivy Gourd ( Coccinia
grandis Voigt ) ,RGJ-phD.Congress III,Chonburi,Thailand.(25-27 Avril ).
39. Tinoi,R., Rakariyatham,N.and Deming
, R. L.,Screening and Determination of Carotenoids Content in Various Flowering
Plants, Congress III,Chonburi,Thailand. 25-27 Avril).
40. Sakorn,P., Rakariyatham,N., Niumsup
H. and Nongkunsarn, P.2002. Rapid Detection of Myrosinase Producing Fungi :
A Plate Method Based on Opaque Barium Sulphate Formation. World J. Microbiol.&
Biotech. 18: 73-74.
41. Chanwitheesuk, A,Rakariyatham,
N. and Teerawutgulrag, A and Wongchanapiboon, T. 2002.Screening of Antioxidant
from Some Thai Vegetables and Herbs. Chiang Mai J. Sci. 29: 1-5.
42. นวลศรี รักอริยะธรรม และ อัญชนา
เจนวิถีสุข 2545 แอนติออกซิแดนท์: สารต้านมะเร็งในผัก-สมุนไพรไทย นพบุรีการพิมพ์จำกัด
อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 281 หน้า.
7. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการในปีที่ผ่านมา
7.1 การเขียนบทความทางวิชาการ 6 เรื่อง
1.Chanwitheesuk,A.,Rakariyatham,N.,Teerawutgulrag,A.and
Wongchanapiboon,T,Screening of Antioxidants from Some Thai Vegetables and Herbs,Chaiang
Mai J. Sci.,29(1),1-5,2002.
2. Chanwitheesuk,A and Rakariyatham,N.,
Phenolic Compounds from Dregea volubilis Stapf (Pak-Huan- Mu),The 28th Congress
on Science and Technology of Thailand, 24-26 October,2002, Queen Sirikit National
Convention Center, Bangkok, Thailand.
3. Chanwitheesuk,A and Rakariyatham,N.,Preliminary
Study of Antibacterial Activity of Coccinia grandis Voigt.(Ivy Gourd) ,The 14th
Annual Meeting of the Thai Society for Biotechnology , 12-15 Nov.,2002, Hotel
Sofitel Raja Orchid , Khon Kaen, Thailand.
4. Wongkham,S.,Niamsup,H. and Rakariyatham,N.,
Effect of Salt Concentration on Mungbean Protein Waste Fermentation by Bacillus
Coagulans for Kapi Production, The 28th Congress on Science and Technology of
Thailand, 24-26 October,2002, Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok,
Thailand.
5. Tinoi, R. and Rakariyatham , N.,
Determination of Carotenoids Content in Theretia peruriama Petal, The 14th Annual
Meeting of the Thai Society for Biotechnology , 12-15 Nov.,2002, Hotel Sofitel
Raja Orchid , Khon Kaen, Thailand
6. Rakariyatham , N. and Sakorn ,
P., Biodegradation of Glucosinolates in Brown Mustard Seed Meal(Brassica juncea)
by Aspergillus sp. NR-4201 in Liquid and Solid-state Cultures , Biodegradation
, 13 , 395-399 , 2002.
7.2 ทุนที่ได้รับ
1. ได้รับทุนพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี
: เรื่อง การทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรแก้ลมพิษจากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1 ทุน 50,000 บาท ปี 2545
8. แผนดำเนินการและผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้านต่างๆในรอบปีที่คาดว่าจะได้รับการต่ออายุ
8.1. สามารถทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรแก้ลมพิษเพื่อเตรียมถ่ายทอดเทคโนโลยี
ในปลายปี2546
8.2. หน่วยวิจัยจะได้รับงบประมาณจาก
อบจ. จังหวัดลำพูน ทำมาตรฐานลำไยอบแห้งและพัฒนาผลิตภัณฑ์ลำไยสีทองเพื่อการส่งออก
8.3. ได้เสนอและตีพิมพ์ผลงาน 6 เรื่อง