1. ชื่อหน่วยวิจัย การประมวลผลภาพ
Image Processing
ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์

2. ชื่อผู้ประสานงาน อาจารย์ ดร.เอกรัฐ บุญเชียง

3. สมาชิก
อาจารย์ ดร.เสมอแข สมหอม
รองศาสตราจารย์ นพ.สิทธิพร บุณยนิตย์

4. ปีที่เริ่มจัดตั้ง
2545

5. กิจกรรมของหน่วยวิจัยที่ได้ดำเนินการในปีที่ผ่านมา
บรรยายพิเศษที่ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Biomedical Engineering วันที่ 27 ธันวาคม 2546 ณ ห้องประชุมภาควิชาฟิสิกส์.

6. ประวัติผลงานที่ผ่านมาตั้งแต่ก่อตั้งหน่วยวิจัย
6.1. งานวิจัยที่เสร็จแล้ว
เอกรัฐ บุญเชียง และ เดโช จักราพานิชย์กุล, (2544), การสร้างภาพสามมิติการไหลเวียนของเลือดภายในหัวใจห้องล่างซ้าย.

6.2. งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์
E Boonchieng, JS Soble, K Dean, R lang and J Roberge, Three-dimensional Reconstruction of Blood Flow within the Left Verticle : Comparism of Normal, Dilated Cardiomyopathy and Reduced Ejection Fraction, IEEE Computers in Cardiology, 2001. p.605-608.

6.3. งานวิจัยที่ได้รับการเสนอผลงาน
6.3.1 E Boonchieng, JS Soble, K Dean, R lang and J Roberge, (September 2001), Three-dimensional Reconstruction of Blood Flow within the Left Verticle : Comparism of Normal, Dilated Cardiomyopathy and Reduced Ejection Fraction, IEEE Computers in Cardiology, The Netherlands.
6.3.2 เอกรัฐ บุญเชียง, เดโช จักราพานิชย์กุล, (กันยายน 2544), การสร้างภาพสามมิติการไหลเวียนของเลือดภายในหัวใจห้องล่างซ้าย, งานประชุมวิชาการชีววิศวกรรมการแพทย์ ครั้งที่ 1, ศูนย์อิเลคทรอนิคส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ.
6.3.3 S Punyanitya, T Narasetthada, N Sirikulrat, E Boonchieng, A Phongchiewboon and N. Sinsuwong, (September 2001), Aneurysm Clip Made in Thailand, The 4th Congress of the International Society for Neurosurgical Technology and Instrument Invention, Australia.
6.3.4 เอกรัฐ บุญเชียง และ รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์, (ตุลาคม 2544), ระบบการจัดการข้อมูลและภาพจากเครื่องตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง, การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 27, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

7. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการในปีที่ผ่านมา
7.1. งานวิจัยที่เสร็จแล้ว
7.1.1 สิทธิพร บุญยนิตย์, อนุชา รักสันติ, นรินทร์ สิริกุลรัตน์, เอกรัฐ บุญเชียง, อร่าม พงศ์เชี่ยวบุญ,ธัญญา นรเศรษฐ์ธาดา, สิงห์คาน แสนยากุล และวัชรินทร์ สิทธิเจริญ, (2545), คีมหนีบสิทธิพรสำหรับรักษาหลอดเลือดแดงโป่งพองในสมอง, คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
7.1.2 เอกรัฐ บุญเชียง และ รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์, (2545), ระบบการจัดการข้อมูลและภาพจากเครื่องตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง, คณะวิทยาศาสตร์ งบประมาณแผ่นดิน 2545.
7.1.3 สิทธิพร บุญยนิตย์, เอกรัฐ บุญเชียง, วัชรินทร์ สิทธิเจริญ, (2545), เครื่องเล็งสมองสุรดา, คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

7.2. งานวิจัยที่ได้รับการเสนอผลงาน
7.2.1. Ekkarat Boonchieng, Ph.D., Rungsrit Kanjanavanit, M.D. (March 2002), Echocardiography Database Management System, The 34th Annual Scientific Meeting of The Heart Association of Thailand under the Royal Patronage, Bangkok, Thailand.
7.2.2. Ekkarat Boonchieng, Ph.D., Sitiporn Punyanitya, M.D.(September 2002), Three-Dimensional Trajectory System for CT-directed Neurosurgical Localization, The 2nd National Meeting on Biomedical Engineering, National Electronics and Computer Technology Center, Bangkok, Thailand.
7.2.3. Ekkarat Boonchieng, Ph.D., Sittiporn Punyanitya, M.D., (October 2002), Three-Dimensional Trajectory System for CT-directed Neurosurgical Localization, The 20th Annual Health Science Meeting, Chiang Mai University.

7.3. งานวิจัยที่รอตีพิมพ์
E Boonchieng, JS Soble, K Dean, R lang and J Roberge, Three-dimensional Reconstruction of Blood Flow within the Left Verticular Chamber from Two-dimensional Color Flow Cine Loops, Computerized Medical Imaging and Graphics.

8. แผนดำเนินการและผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้านต่างๆ ในรอบปีที่คาดว่าจะได้รับการต่ออายุ
หน่วยวิจัยยังมีงานวิจัยอีก 2 งานวิจัยที่ยังค้างอยู่คือ
8.1 อาจารย์ ดร.เอกรัฐ บุญเชียง และ อาจารย์ นพ.ศตวรรษ ทองสวัสดิ์, ระบบการจัดการฐานข้อมูลภาพและเสียงจากเครื่องส่องระบบทางเดินอาหาร, คณะวิทยาศาสตร์ งบประมาณแผ่นดิน 2546.
8.2 อาจารย์ ดร.เอกรัฐ บุญเชียง และ อาจารย์ นพ.ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์, เครื่องตรวจวัดการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติของหัวใจโดยการวัดการผันแปรของอัตราการ
เต้นของหัวใจ สำหรับโรคเบาหวาน, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546.
งานวิจัยทั้ง 2 นี้จะเป็นงานวิจัยหลักของหน่วยวิจัยสำหรับปีการศึกษา 2546 ต่อไป