1. ชื่อหน่วยวิจัย หินอัคนีและแหล่งแร่เศรษฐกิจที่เกี่ยวข้อง
Igneous Rocks and Related Ore Deposits Research Unit
ภาควิชา ธรณีวิทยา

2. ชื่อผู้ประสานงาน รศ. ดร. ยืนยง ปัญจสวัสดิ์วงศ์

3. สมาชิก
อ. ดร. อภิเชษฐ์ บุญสูง
อ. บุณฑริกา ศรีทัย

4. ปีที่เริ่มจัดตั้ง พ.ศ. 2534

5. กิจกรรมของหน่วยวิจัยที่ได้ดำเนินในปีที่ผ่านมา
5.1 เตรียมผลงานที่จะนำเสนอในที่ประชุมต่างๆ
5.1.1 ชื่อเรื่อง "Mafic volcanic rocks in the Ban Pang Mayao area, Phrao, Chiangmai, northern Thailand: tectonic settings of formation"
        ชื่อการประชุม "Fourth Symposium of IGCP Project No. 411 (Geodynamic Processes of Gondwanaland-derived terranes in East and Southeast Asia - Their Crustal Evolution, Emplacement and Natural Resources Potential)" (ระดับนานาชาติ) วันที่ 17-25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545, พิษณุโลก, ประเทศไทย
5.1.2 ชื่อเรื่อง "Tectonic setting of eruption of volcanic rocks at kilometers 41+300, highway number 1035 (Lampang-Chae Hom), northern Thailand"
        ชื่อการประชุม "Fourth Symposium of IGCP Project No. 411 (Geodynamic Processes of Gondwanaland-derived terranes in East and Southeast Asia - Their Crustal Evolution, Emplacement and Natural Resources Potential)" (ระดับนานาชาติ) วันที่ 17-25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545, พิษณุโลก, ประเทศไทย
5.1.3 ชื่อเรื่อง "Petrochemistry and tectonic settings of mafic igneous rocks in the Naxeng prospect, Xayabouri, Lao People's Democratic Republic"
        ชื่อการประชุม "Fourth Symposium of IGCP Project No. 411 (Geodynamic Processes of Gondwanaland-derived terranes in East and Southeast Asia - Their Crustal Evolution, Emplacement and Natural Resources Potential)" (ระดับนานาชาติ) วันที่ 17-25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545, พิษณุโลก, ประเทศไทย
5.1.4 ชื่อเรื่อง "Basalt stratigraphy in the drill hole at Ban Huai Rak Mai, Amphoe Mae Moh, Changwat Lampang, northern Thailand"
        ชื่อการประชุม "The 8th International Congress on Pacific Neogene Stratigraphy (Pacific Neogene Paleoenvironments and Their Evolution" (ระดับนานาชาติ) วันที่ 3-9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546, เชียงใหม่, ประเทศไทย

5.2 งานบริการวิชาการ
5.2.1 การประชุมปฎิบัติการเรื่อง "ธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณีสำหรับครูในระดับมัธยม"
        บุคคลที่เข้ารับบริการ : ครูระดับมัธยมจากโรงเรียนต่างๆ
        ปริมาณงาน : 5 ชั่วโมง
5.2.2 การประชุมปฎิบัติการเรื่อง "ธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณีในท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่"
         บุคคลที่เข้ารับบริการ : ครูระดับมัธยมจากโรงเรียนต่างๆในจังหวัดเชียงใหม่
         ปริมาณงาน : 5 ชั่วโมง
5.2.3 วิเคราะห์ตัวอย่างหินทางด้านศิลาวรรณนาให้
         บริษัท Right Tunneling 4 ครั้ง
         บริษัท GMT 6 ครั้ง
         บริษัท PEC 2 ครั้ง
         บริษัท ผาแดงอินดัสตรี 1 ครั้ง
         ปริมาณงาน : ประมาณ 300 ชั่วโมง

5.3 บูรณาการกิจกรรมวิจัยร่วมกับการเรียนการสอน
5.3.1 วิทยานิพนธ์เรื่อง Petrochemistry and Tectonic Setting of Mafic Volcanic Rocks in the Areas of Khlong Tha Dan and Khlong Madua Dams, Changwat Nakhonnayok, Thailand
         นักศึกษา : นางสาวพัชรินทร์ โคสุวรรณ รหัสประจำตัว 4425331
         อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ. ดร. ยืนยง ปัญจสวัสดิ์วงศ์
5.3.2 การค้นคว้าอิสระเรื่อง Tectonic Setting of Mafic Volcanic Rocks in the Ban Pak Thang Khun Lao - Ban Sob Pong Area, Amphoe Wiang Pa Pao, Changwat Chiang Rai
         นักศึกษา : นายโอวินห์ พงษ์พันธ์งาม รหัสประจำตัว 4205061
         อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ. ดร. ยืนยง ปัญจสวัสดิ์วงศ์
5.3.3 การค้นคว้าอิสระเรื่อง Petrography of Felsic and Mafic Plutonic Rocks from Drill Hole Number 7, Huai Mae Salit Reservoir Project, Amphoe Ban Tak, Changwat Tak
         นักศึกษา : นางสาวจีรีสุดา เอี่ยมประไพ รหัสประจำตัว 4205129
         อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ. ดร. ยืนยง ปัญจสวัสดิ์วงศ์
5.3.4 การค้นคว้าอิสระเรื่อง Petrography of Felsic and Mafic Plutonic Rocks from Drill Hole Number 1 and Number 2, Huai Mae Salit Reservoir Project, Amphoe Ban Tak, Changwat Tak
         นักศึกษา : นางสาวเสาวนีย์ ชูไว รหัสประจำตัว 4205471
        อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ. ดร. ยืนยง ปัญจสวัสดิ์วงศ์
5.3.5 การค้นคว้าอิสระเรื่อง Petrography and Geochemistry of Nam Cho Basalt, Amphoe Mae Tha, Changwat Lampang
         นักศึกษา : นายเอกวิทย์ วัฒนวงศ์สุโข รหัสประจำตัว 4205528
         อาจารย์ที่ปรึกษา : ดร. อภิเชษฐ์ บุญสูง

5.4 งานเขียนบทความเพื่อส่งไปตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ "Journal of Asian Earth Sciences"
5.4.1 Petrochemistry of volcanic rocks at kilometer 41+300, highway number 1035 (Lampang-Chae Hom), northern Thailand: tectonic setting of formation
5.4.2 Petrochemical constraints on tectonic settings of mafic igneous rocks in the Naxeng prospect, Xayabouri Province, Lao People's Democratic Republic
5.4.3 Preliminary geochemical study of volcanic rocks in the Pang Mayao area, Phrao, Chiang Mai, northern Thailand: tectonic settings of formation

5.5 งานแก้ไขบทความและตอบโต้ความเห็นของ referrees ก่อนที่จะตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ
5.5.1 Geochemistry and tectonic setting of eruption of central Loei volcanic rocks in the Pak Chom area, Loei, northeast Thailand เพื่อส่งไปตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ "Journal of Asian Earth Sciences"
5.5.2 Tectonic setting of formation of Permo-Triassic Chiang Khong volcanic rocks, northern Thailand เพื่อส่งไปตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ "Gondwana Research"

6 ประวัติผลงานที่ผ่านมานับตั้งแต่ก่อตั้งหน่วยวิจัย

6.1 ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
6.1.1 Petrochemical study of post-Triassic basalts from the Nan suture, northern Thailand. Journal Southeast Asian Earth Sciences (วารสารระดับนานาชาติ), v. 8, nos. 1-4, p. 147-158.
ตีพิมพ์ปี 1993, อยู่ในฐานข้อมูลวารสารระดับ Science Citation Index
6.1.2 An experimental study of the effects of melt composition on plagioclase-melt equilibria at 5 and 10 kbar: implications for the origin of magmatic high An-plagioclase.Contributions to Mineralogy and Petrology (วารสารระดับนานาชาติ), v. 118, p. 420-432.ตีพิมพ์ปี 1995, อยู่ในฐานข้อมูลวารสารระดับ Science Citation Index
6.1.3 Chiang Khong corundum-bearing basalt, Amphoe Chiang Khong, Changwat Chiang Rai. Journal of the Science Faculty of Chiang Mai University, v. 23, p. 39-52.
ตีพิมพ์ปี 1996
6.1.4 Lithology and petrography of polished rock slabs from China.Songklanakarin Journal of Science and Technology (วารสารระดับนานาชาติ), v. 22, no. 1, p. 121-132. ตีพิมพ์ปี 2000, อยู่ในฐานข้อมูลวารสารระดับ Science Citation Index
6.1.5 Geochemical characteristics and tectonic significance of the Permo-Triassic Pak Pat volcanics, Uttaradit, northern Thailand. Journal of the Geological Society of Thailand, no. 1, p. 1-7.
ตีพิมพ์ปี 2000
6.1.6 Tectonic setting of formation of Permo-Triassic Chiang Khong volcanics, northern Thailand. Gondwana Research (วารสารระดับนานาชาติ), v. 4, no. 4, p. 728.
ตีพิมพ์ปี 2001, อยู่ในฐานข้อมูลวารสารระดับ Science Citation Index

6.2ผลงานวิจัยที่เสนอในที่ประชุมต่างๆ
6.4.2 Terrane analysis and tectonics of the Nan-Chanthaburi suture zone.
เสนอต่อที่ประชุมระดับนานาชาติ "The Seventh Regional Conference on Geology, Mineral and Energy Resources of Southeast Asia (GEOSEA VII)" 5-8 November 1991, Bangkok, Thailand.
6.4.3 Provenances and tectonic setting of deposition 0f Upper Devonian - Lower Carboniferous sandstone in the Pak Chom area, Loei.
เสนอต่อที่ประชุมระดับนานาชาติ "The International Symposium on Stratigraphic Correlation of Souheast Asia" 15-20 November 1994, Bangkok, Thailand.
6.4.4 Late Cainozoic basalts from Khao Phanom Sawai, northeastern Thailand - petrography and geochemistry.
เสนอต่อที่ประชุมระดับนานาชาติ "The Eighth Regional Conference on Geology, Mineral and Energy Resources of Southeast Asia (GEOSEA VIII)" 14-18 February 1995, Metro Manila, Philippines.
6.4.5 Basalts in Li basin, northern Thailand: southern extension of Chiang Mai volcanic belt.
เสนอต่อที่ประชุมระดับนานาชาติ "The International Conference on Geology, Geotechnology and Mineral Resources of Indochina (GEO-INDO'95)" 22-25 November 1995, Khon Kaen, Thailand.
6.4.5 Ophiolites, ocean crust, and the Nan suture in NE Thailand.
เสนอต่อที่ประชุมระดับนานาชาติ "The International Symposium on Lithosphere Dynamics of East Asia - Geology, Energy and Mineral Resources of the Indochina Region" 19-23 April 1996, Taipei, Taiwan, R.O.C.
6.4.6 Geochemistry and tectonic setting of eruption on central Loei volcanics in the Pak Chom area, Loei, northeastern Thailand.
เสนอต่อที่ประชุมระดับนานาชาติ "The International Conference on Stratigraphy and Tectonic Evolution of Southeast Asia and the South Pacific (GEOTHAI'97)" 19-24 August 1997, Bangkok, Thailand.
6.4.7 Petrology and tectonic setting of eruption of basaltic rcoks penetrated in Well GTE-1, San Kamphaeng geothermal field, Chiang Mai, northern Thailand.
เสนอต่อที่ประชุมระดับนานาชาติ "The International Symposium on Shallow Tethys (ST) 5" 1-5 February 1999, Chiang Mai, Thailand.
6.4.8 Petrography of granite from the Ban Pang and Ban Mai Takhian area, Amphoe Li, Changwat Lumphun.
เสนอต่อที่ประชุมระดับนานาชาติ "The Symposium on Mineral, Energy and Water Resources of Thailand : Towards the year 2000 (MEW 2000)" 28-29 October 1999, Bangkok, Thailand.
6.4.9 Tectonic setting of formation of Permo-Triassic Chiang Khong volcanics, northern Thailand.
เสนอต่อที่ประชุมระดับนานาชาติ "The International Symposium on the Assembly and Break up of Rhodinia and Gondwana, and Growth of Asia" 26-30 October 2001, Osaka, Japan.
6.4.9 ชื่อเรื่อง "Basalt stratigraphy in the drill hole at Ban Huai Rak Mai, Amphoe Mae Moh, Changwat Lampang, northern Thailand"
เสนอต่อที่ประชุมระดับนานาชาติ "The 8th International Congress on Pacific Neogene Stratigraphy (Pacific Neogene Paleoenvironments and Their Evolution" 3-9 February 3003, Chiang Mai, Thailand.

6.5 โครงการวิจัยที่ได้รับทุน
6.5.1 ชื่อโครงการ "ธรณีเคมีของหินบะซอลต์ที่แปรเปลี่ยนน้อยที่สุดจากหลุมเจาะ GTE-1 บริเวณแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพสันกำแพง : สภาวะแวดล้อมทางเทคโทนิคของการปะทุ"
         ประเภททุน "งบประมาณเพื่อการวิจัยประจำปี 2536"
         หน่วยงานที่ให้ทุน "คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"
         งบประมาณที่ได้รับ 42,000.- บาท
        ปีที่ได้รับ พ.ศ. 2536

6.5.2 ชื่อโครงการ "ธรณีวิทยาของอำเภอปากชมเลย"
          ประเภททุน "งบประมาณเพื่อการวิจัยประจำปี 2537"
          หน่วยงานที่ให้ทุน "คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"
          งบประมาณที่ได้รับ 70,000.- บาท
          ปีที่ได้รับ พ.ศ. 2537

6.5.3 ชื่อโครงการ "การศึกษาคุณลักษณะด้านศิลาวรรณนา และการกระจายตัวของค่าความพรุนและความซึมผ่านได้ของของไหลในชั้นหินกักเก็บปิโตรเลียมในแอ่งฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยอาศัยข้อมูลแท่งหินตัวอย่าง"
         ประเภททุน "งบประมาณเพื่อการวิจัยประจำปี 2546"
         หน่วยงานที่ให้ทุน "คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"
         งบประมาณที่ได้รับ 82,400.- บาท
         ปีที่ได้รับ พ.ศ. 2546

7 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการในปีที่ผ่านมา
7.1 ผลงานที่เสนอในที่ประชุมต่างๆ
7.1.1 ชื่อเรื่อง "Mafic volcanic rocks in the Ban Pang Mayao area, Phrao, Chiangmai, northern Thailand: tectonic settings of formation" (เอกสารหมายเลข 1)
        ชื่อการประชุม "Fourth Symposium of IGCP Project No. 411 (Geodynamic Processes of Gondwanaland-derived terranes in East and Southeast Asia - Their Crustal Evolution, Emplacement and Natural Resources Potential)" (ระดับนานาชาติ)วันที่ 17-25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545, พิษณุโลก, ประเทศไทย
7.1.2 ชื่อเรื่อง "Tectonic setting of eruption of volcanic rocks at kilometers 41+300, highway number 1035 (Lampang-Chae Hom), northern Thailand" (เอกสารหมายเลข 2)
        ชื่อการประชุม "Fourth Symposium of IGCP Project No. 411 (Geodynamic Processes of Gondwanaland-derived terranes in East and Southeast Asia - Their Crustal Evolution, Emplacement and Natural Resources Potential)" (ระดับนานาชาติ) วันที่ 17-25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545, พิษณุโลก, ประเทศไทย
7.1.3 ชื่อเรื่อง "Petrochemistry and tectonic settings of mafic igneous rocks in the Naxeng prospect, Xayabouri, Lao People's Democratic Republic" (เอกสารหมายเลข 3)
        ชื่อการประชุม "Fourth Symposium of IGCP Project No. 411 (Geodynamic Processes of Gondwanaland-derived terranes in East and Southeast Asia - Their Crustal Evolution, Emplacement and Natural Resources Potential)" (ระดับนานาชาติ) วันที่ 17-25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545, พิษณุโลก, ประเทศไทย
7.1.4 ชื่อเรื่อง "Basalt stratigraphy in the drill hole at Ban Huai Rak Mai, Amphoe Mae Moh, Changwat Lampang, northern Thailand" (เอกสารหมายเลข 4)
        ชื่อการประชุม "The 8th International Congress on Pacific Neogene Stratigraphy (Pacific Neogene Paleoenvironments and Their Evolution" (ระดับนานาชาติ)
วันที่ 3-9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546, เชียงใหม่, ประเทศไทย

7.2 โครงการวิจัยที่ได้รับทุน
ชื่อโครงการ "การศึกษาคุณลักษณะด้านศิลาวรรณนา และการกระจายตัวของค่าความพรุนและความซึมผ่านได้ของของไหลในชั้นหินกักเก็บปิโตรเลียมในแอ่งฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยอาศัยข้อมูลแท่งหินตัวอย่าง"
ประเภททุน "งบประมาณเพื่อการวิจัยประจำปี 2546"
หน่วยงานที่ให้ทุน "คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"
งบประมาณที่ได้รับ 82,400.- บาท
ปีที่ได้รับ พ.ศ. 2546

7.3 งานบริการวิชาการ
7.3.1 การประชุมปฎิบัติการเรื่อง "ธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณีสำหรับครูในระดับมัธยม"
         บุคคลที่เข้ารับบริการ : ครูระดับมัธยมจากโรงเรียนต่างๆ
         ปริมาณงาน : 5 ชั่วโมง
7.3.2 การประชุมปฎิบัติการเรื่อง "ธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณีในท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่"
         บุคคลที่เข้ารับบริการ : ครูระดับมัธยมจากโรงเรียนต่างๆในจังหวัดเชียงใหม่
         ปริมาณงาน : 5 ชั่วโมง
7.3.3 วิเคราะห์ตัวอย่างหินทางด้านศิลาวรรณนาให้
         บริษัท Right Tunneling 4 ครั้ง
         บริษัท GMT 6 ครั้ง
         บริษัท PEC 2 ครั้ง
         บริษัท ผาแดงอินดัสตรี 1 ครั้ง
        ปริมาณงาน : ประมาณ 300 ชั่วโมง

7.4 บูรณาการกิจกรรมวิจัยร่วมกับการเรียนการสอน
การค้นคว้าอิสระเรื่อง Tectonic Setting of Mafic Volcanic Rocks in the Ban Pak Thang Khun Lao - Ban Sob Pong area, Amphoe Wiang Pa Pao, Changwat Chiang Rai (เอกสารหมายเลข 5)
นักศึกษา : นายโอวินห์ พงษ์พันธ์งาม
อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ. ดร. ยืนยง ปัญจสวัสดิ์วงศ์

8 แผนดำเนินการและผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้านต่างๆในรอบปีที่คาดว่าจะได้รับการต่ออายุ
-ดูหัวข้อที่ 7-