ด้านการผลิตบัณฑิตและการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

   


คณะวิทยาศาสตร์มีระบบการคัดเลือกเพื่อรับเข้าเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี ดังต่อไปนี้

      • การสอบคัดเลือก จากส่วนกลาง ดำเนินการโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
      • การสอบคัดเลือก โควตาภาคเหนือ ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
      • การสอบคัดเลือก การรับเข้าโดยวิธีพิเศษ ดำเนินการโดยคณะวิทยาศาสตร์
        ตามโครงการต่างๆ ดังนี้
        • โครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.)
        • โครงการส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.)
        • โครงการพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ (ทุนเรียนดีวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย)
        • โครงการรับนักเรียนที่มีผลการเรียนดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (โครงการเรียนดี มช.)
        • โครงการพัฒนาและส่งเสริมเยาวชนดีเด่นทางการกีฬา (โครงการกีฬา)
        • โครงการรับนักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
        • โครงการรับนักเรียนจากโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กและเยาวชน
        • โครงการรับนักเรียนมัธยมปลายจากค่ายโอลิมปิกวิชาการ
        • โครงการรับนักเรียนทุนมูลนิธิวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เพื่อชุมชน (วคช.)
        • โครงการรับนักเรียนเข้าโดยวิธีพิเศษ (วพ.)
        • โครงการเพชรทองกวาว

สำหรับการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา รับสมัครโดยผ่านบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสอบคัดเลือกตามสาขาวิชาที่สมัคร ณ คณะวิทยาศาสตร์ โดยเปิดรับสมัครปีละ 2 ครั้ง คือ ภาคการศึกษาที่ 1 และภาคการศึกษาที่ 2 ของทุกปีการศึกษา

นักศึกษาปัจจุบัน ในปีการศึกษา 2548 คณะวิทยาศาสตร์ได้รับนักศึกษาใหม่ทั้งสิ้น 936 คน จำแนกเป็น

        • ระดับปริญญาตรี 690 คน
        • ระดับปริญญาโท 190 คน
        • ระดับปริญญาเอก 56 คน

โดยมีจำนวนนักศึกษารวมทั้งคณะมีจำนวน 3,433 คน จำแนกเป็น ระดับปริญญาตรี 2,404 คน ระดับปริญญาโท 803 คน ระดับปริญญาเอก 226 คน

ผู้สำเร็จการศึกษา
บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาทุกสาขาวิชาจากคณะวิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2547 จำนวนทั้งสิ้น 640 คน เป็นดังนี้

        • วิทยาศาสตรบัณฑิต 501 คน
        • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 108 คน
        • วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต 31 คน

หลักสูตร ปัจจุบันคณะวิทยาศาสตร์ เปิดสอนหลักสูตร

        • ระดับปริญญาตรี 13 สาขาวิชา
        • ระดับปริญญาโท 19 สาขาวิชา
        • ระดับปริญญาเอก 9 สาขาวิชา

ระดับปริญญาตรี

ระดับปริญญาโท

ระดับปริญญาเอก

คณิตศาสตร์

คณิตศาสตร์
การสอนคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ประยุกต์

คณิตศาสตร์

วิทยาการคอมพิวเตอร์

วิทยาการคอมพิวเตอร์ ***

-

สถิติ

สถิติประยุกต์

-

ฟิสิกส์
วัสดุศาสตร์

ฟิสิกส์
การสอนฟิสิกส์
ฟิสิกส์ประยุกต์
วัสดุศาสตร์

ฟิสิกส์**
วัสดุศาสตร์ **

เคมีอุตสาหกรรม

เคมีอุตสาหกรรม

-

เคมี
ชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี

เคมี
การสอนเคมี
เทคโนโลยีชีวภาพ@.
(แขนงชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี)

เคมี**

ชีววิทยา
จุลชีววิทยา

สัตววิทยา

ชีววิทยา
การสอนชีววิทยา


ชีววิทยา
ความหลากหลายทางชีวภาพและ
ชีววิทยาชาติพันธุ์

ธรณีวิทยา
อัญมณีวิทยา

ธรณีวิทยา
ธรณีฟิสิกส์ประยุกต์**

ธรณีศาสตร์ปิโตรเลียม*

ธรณีวิทยา**

-

วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม**

เทคโนโลยีชีวภาพ@.
(แขนงจุลชีววิทยาและเทคโนโลยีจุลินทรีย์และ
แขนงชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี)

วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมเทคโนโลยีชีวภาพ@.
(แขนงชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี)

หมายเหตุ

1. * หลักสูตรนานาชาติ
2. ** หลักสูตรปกติและนานาชาติ
3. *** ภาคปกติ และภาคพิเศษ
4@. หลักสูตรร่วมระหว่างคณะ สังกัดบัณฑิตวิทยาลัย


สำหรับในปีการศึกษา 2548 อยู่ในระหว่างเสนอขอเปิดหลักสูตรใหม่ ดังนี้

        • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์บูรณาการ)
        • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์บูรณาการ)
        • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีวสารสนเทศศาสตร์)
        • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จุลชีววิทยาประยุกต์)
        • หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (จุลชีววิทยาประยุกต์)
        • หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
        • หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ฟิสิกส์ประยุกต์)
        • หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ชีวสารสนเทศศาสตร์)
        • หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิทยาศาสตร์นาโนและเทคโนโลยีนาโน) @

มีการปรับปรุงกระบวนวิชาและหลักสูตรทั้งปรับปรุงมากและปรับปรุงเล็กน้อย ในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา ดังนี้

ก) การปรับปรุง ปิดกระบวนวิชาและเปิดกระบวนวิชาใหม่

ระดับ

สาขาวิชา

เปิดกระบวนวิชาใหม่

ปรับปรุง
กระบวนวิชา

ปิดกระบวนวิชา

ปริญญาตรี

เคมี

37

13

18

คณิตศาสตร์

3

34

-

สถิติ

3

9

-

ชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี

2

2

3

ฟิสิกส์

12

9

-

วิทยาการคอมพิวเตอร์

-

14

-

ธรณีวิทยา

6

-

-

บัณฑิตศึกษา

คณิตศาสตร์

2

17

-

วัสดุศาสตร์

3

-

วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ บูรณาการ

13

-

-

ข) การปรับปรุงหลักสูตร
ในปีการศึกษา 2548 คณะวิทยาศาสตร์ได้กำหนดให้มีการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรีทั้ง 13 สาขาวิชา โดยผลการดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรถึงเดือนตุลาคม 2548 หลักสูตรปรับปรุงได้ผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยเรียบร้อยแล้ว จำนวน 4 หลักสูตร อยู่ในระหว่างดำเนินการในระดับมหาวิทยาลัย 3 หลักสูตรและอยู่ในระหว่างดำเนินการในระดับคณะ/ภาควิชา 6 หลักสูตร
สำหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรปรับปรุงได้ผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยเรียบร้อยแล้ว จำนวน 2 หลักสูตร ที่เหลือกำลังอยู่ในระหว่างการดำเนินการระดับคณะ/ภาควิชา

 

ภาวะการได้งานทำของบัณฑิต
ตารางแสดงจำนวนและร้อยละของบัณฑิต (ระดับปริญญาตรี) จำแนกตามสถานภาพการทำงาน

 

สาขาวิชา

สภาพการทำงาน

รวม

มีงานทำ

ไม่มีงานทำ

ศึกษาต่อ

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

จำนวน

ร้อยละ

เคมี

49

74.24

2

3.03

15

22.73

66

13.58

ชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนฯ

18

56.24

1

3.13

13

40.63

32

6.58

เคมีอุตสาหกรรม

39

84.78

1

2.18

6

13.04

46

9.46

ชีววิทยา

18

39.13

4

8.70

24

52.17

46

9.46

จุลชีววิทยา

21

61.77

2

5.88

11

32.35

34

7.0

สัตววิทยา

3

75.0

-

-

1

25.0

4

0.82

ธรณีวิทยา

22

68.75

4

12.5

6

18.75

32

6.58

อัญมณีวิทยา

22

91.67

-

-

2

8.33

24

4.94

คณิตศาสตร์

13

48.15

2

7.41

12

44.44

27

5.56

วิทยาการคอมพิวเตอร์

62

76.54

9

11.11

10

12.35

81

16.67

- สถิติ

34

97.14

1

2.86

-

-

35

7.20

- ฟิสิกส์

5

20.0

3

12.0

17

68.0

25

5.15

- วัสดุศาสตร์

19

55.88

7

20.59

8

23.53

34

7.0

รวม

325

66.87

36

7.41

125

25.72

486

100.0

ตารางแสดงจำนวนบัณฑิตที่มีงานทำ จำแนกตามเงินเดือนที่ได้รับ(บาท)

สาขาวิชา

5,000 –8,000

8,001 –11,000

11,001-14,000

มากกว่า14,000

รวม

เคมี

7

9

20

13

49

ชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี

3

7

3

5

18

เคมีอุตสาหกรรม

1

6

13

19

39

ชีววิทยา

8

6

3

1

18

จุลชีววิทยา

6

6

7

2

21

สัตววิทยา

1

1

1

-

3

ธรณีวิทยา

8

6

3

5

22

อัญมณีวิทยา

5

11

6

-

22

คณิตศาสตร์

10

2

-

1

13

วิทยาการคอมพิวเตอร์

13

21

13

15

62

สถิติ

5

12

8

-

34

ฟิสิกส์

3

1

1

-

5

วัสดุศาสตร์

4

5

4

6

19

รวม

ร้อยละ

74

22.77

93

28.62

82

25.23

76

23.38

325

100.0

ตารางแสดงจำนวนบัณฑิตที่มีงานทำ จำแนกตามลักษณะของหน่วยงาน

สาขาวิชา

ราชการ

รัฐวิสาหกิจ

ธุรกิจ/เอกชน

อาชีพส่วนตัว

รวม

เคมี

6

2

38

3

49

ชีวเคมีและชีวเคมีเทคโนโลยี

5

1

11

1

18

เคมีอุตสาหกรรม

1

-

37

1

39

ชีววิทยา

3

-

12

3

18

จุลชีววิทยา

3

-

18

-

21

สัตววิทยา

1

-

2

-

3

ธรณีวิทยา

8

-

14

-

22

อัญมณีวิทยา

2

-

19

1

22

คณิตศาสตร์

6

-

6

1

13

วิทยาการคอมพิวเตอร์

3

2

52

5

62

สถิติ

4

-

29

1

34

ฟิสิกส์

3

-

2

-

5

วัสดุศาสตร์

3

-

13

3

19

รวม

48

5

253

19

325

ร้อยละ

14.77

1.54

77.85

5.84

100.0


การสนับสนุนการพัฒนาวิชาการ
คณะวิทยาศาสตร์ได้จัดสรรงบประมาณเพื่อการสนับสนุนกิจกรรมทางวิชาการทั้งระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาหลายรูปแบบ ดังนี้

ระดับปริญญาตรี

      • โครงการพัฒนาการเรียนการสอน

ในปีงบประมาณ 2548 ได้ให้การสนับสนุนให้การจัดกิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนทั้งสิ้น 75 โครงการ เป็นเงินประมาณ 1,288,600.- บาท แบ่งออกได้เป็น 4 ลักษณะกิจกรรม คือ
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพนักศึกษา เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการอบรมสัมมนาเพื่อให้ความรู้แก่นักศึกษา
1) ความรู้วิชาการที่นักศึกษาเกี่ยวข้องโดยตรงในสาขานั้น
2) วิชาการเชิงวิชาชีพที่นักศึกษาต้องใช้ในการนำไปปฏิบัติงานในอนาคต และ
3) วิชาการเสริมทักษะประกอบการศึกษาและการทำงาน โดยเฉพาะทักษะด้านภาษาอังกฤษและทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมเกี่ยวกับสื่อการสอน เป็นกิจกรรมในการจัดหา/พัฒนาสื่อสนับสนุนการเรียนการสอนต่างๆ เช่น หนังสือ ตำรา สื่อการสอนและระบบคอมพิวเตอร์
กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมและกิจกรรมสัมพันธ์ เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม หรือเสริมสร้างความสัมพันธ์ของนักศึกษา เช่น ทำบุญ เยี่ยมบ้านเด็กกำพร้า กีฬา ค่ายคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมพัฒนาภาควิชา เป็นต้น
กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาการเรียนการสอน เช่น

        • ค่ายวิทยาศาสตร์แบบองค์รวมสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1
        • กิจกรรมฝึกวิจัยสำหรับนักศึกษาโครงการพิเศษ ชั้นปีที่ 2
        • การฝึกงานและดูงาน
        • กิจกรรมเสนอผลงานวิชาการของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
        • การสนับสนุนกระบวนวิชาปัญหาพิเศษหรือค้นคว้าอิสระ
        • กิจกรรมพัฒนาทักษะด้านภาษาต่างประเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ
        • โครงการวันผู้บริหารพบผู้ปกครองนักศึกษาใหม่
        • การปฐมนิเทศ/และปัจฉิมนิเทศนักศึกษา
        • โครงการเยี่ยมบ้านนักศึกษาประจำปี
        • การประชุมประจำปีอาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 1
        • โครงการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นต้น

      ระดับบัณฑิตศึกษา

      • โครงการพัฒนาวิชาการบัณฑิตศึกษา
        คณะวิทยาศาสตร์ ได้จัดสรรงบประมาณสนับสนุนการจัดกิจกรรมพัฒนาวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาโดยในปีงบประมาณ 2548 ได้ให้การสนับสนุนให้ภาควิชาต่างๆ รวม 42โครงการ เป็นเงินทั้งสิ้น 682,164 บาท
      • โครงการทุนช่วยสอน
        คณะวิทยาศาสตร์ได้สนับสนุนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาช่วยสอนโดยมีการสนับสนุนใน 2 ประเภท คือ การสนับสนุนโดยค่าตอบแทนเป็นรายชั่วโมง และการสนับสนุนในลักษณะการให้ทุนการศึกษา โดยในปีงบประมาณ 2548 ได้สนับสนุนประเภทให้ค่าตอบแทนเป็นรายชั่วโมง จำนวน 1,281,240 บาท และสนับสนุนประเภททุนการศึกษา จำนวน 624,000 บาท รวมทั้งสิ้นเป็นเงิน 1,905,240 บาทเป็นรายชั่วโมง
      • การสนับสนุนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาไปเสนอผลงานวิชาการ ฝึกอบรม ดูงาน ทำวิจัยระยะสั้น
        คณะวิทยาศาสตร์ได้จัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายสมทบในการไปเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุมวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา โดยในปีการศึกษา 2547 ที่ผ่านมา ได้ให้การสนับสนุนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาไปเสนอผลงานวิชาการทั้งสิ้น จำนวน 85 คน รวมเป็นเงิน 738,340บาท (ในประเทศ 31 คน เป็นเงิน 123,540 บาท และต่างประเทศ 54 คน เป็นเงิน 614,800 บาท)
        นอกจากนั้น คณะวิทยาศาสตร์ยังได้จัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายสมทบให้แก่นักศึกษาบัณฑิตศึกษาในโครงการแลกเปลี่ยนทางวิชาการกับสถาบันต่างประเทศ โดยในปีการศึกษาที่ผ่านมาสนับสนุนเป็นค่าใช้จ่ายสมทบในโครงการแลกเปลี่ยนทางวิชาการกับ Boise State University ประเทศสหรัฐอเมริกา จำนวนรวม 1 คน เป็นเงิน 18,843 บาท และได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุนการทำวิทยานิพนธ์ สำหรับนักศึกษาปริญญาโทจากบัณฑิตวิทยาลัยในปีงบประมาณ 2548 สำหรับวิทยานิพนธ์ แผน ก จำนวน 109 โครงการ และการค้นคว้าแบบอิสระ แผน ข จำนวน 9 โครงการ รวมทั้งสิน 118 โครงการ เป็นเงินรวมทั้งสิ้น 181,953.40 บาท

ทุนการศึกษา

ทุนการศึกษาและเงินช่วยเหลือพิเศษระดับปริญญาตรี

ที่

ชื่อทุน

จำนวนทุน

จำนวนเงิน

1

ทุนการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

66

957,000

2

ทุนการศึกษาจากคณะวิทยาศาสตร์

318

2,058,000

3

ทุนการศึกษาที่พิจารณาจัดสรรโดยภาควิชา

2

15,000

4

ทุนการศึกษาตามนโยบายพิเศษของรัฐบาล

12

386,100

6

เงินช่วยเหลือพิเศษ

15

64,000

รวมทั้งหมด

413

3,480,100

ทุนการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

ที่

ชื่อทุน

จำนวนทุน

จำนวนเงิน

1

2

3

4

5

6.

7.

8.

9.

ทุนอุดหนุนการศึกษาสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจากงบประมาณแผ่นดิน (ป.เอก)

ทุนอุดหนุนการศึกษาสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจากงบประมาณแผ่นดิน (ป.โท)

ทุนสนับสนุนวิจัยจากกองทุนเชลล์ 100 ปี

ทุนสนับสนุนการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา(ป.เอก)

จากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ทุนสนับสนุนการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา(ป.เอก)

จากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ทุนสนับสนุนการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา(ป.เอก)

จากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ทุนสนับสนุนการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา(ป.โท)

จากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ทุนสนับสนุนการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา(ป.โท)

จากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ทุนการศึกษามูลนิธิ ดร.บรูโน แวร์เดลมานน์

3

9

1

7

1

1

1

11

3

45,000

90,000

88,380

490,000

40,000

20,000

35,427

75,680

150,000

รวมทุนการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา ที่นักศึกษาได้รับ

3

1,049,487

 

กิจกรรมนักศึกษา

กิจกรรมเสริมหลักสูตร

พี่บัณฑิตเลี้ยงน้อง

23 ม.ค 48

จัดทำหนังสือให้น้อง

24 มี.ค – 30 เม.ย 48

โครงงานจัดทำสมุดเชียร์

10-31 พ.ค 48

งานสามค้อน

15 – 16 พ.ค 48

โครงงานรับน้องรถไฟ

23-25 พ.ค 48

วันสอน BOOM SCIENCE

28 พ.ค 48

โครงงานเปิดโลกกิจกรรม

3 มิ.ย 48

ตั้งไข่ (อบรม STAFF)

9-10 มิ.ย 48

โครงงานสัมมนากิจกรรมนักศึกษา

10 มิ.ย 48

โครงงานแนะแนวการเรียนและสมการใช้เครื่องคิดเลขแก่นักศึกษาชั้นปีที่ 1

16 มิ.ย 48

ค่ายฝึก STAFF-S

18 มิ.ย 48

โครงงานกิจกรรมเชื่อมสัมพันธ์ภายในภาควิชาชีววิทยา

18 มิ.ย 48

วันแรกพบ

25 มิ.ย 48

โครงงาน Walk Rally รวมใจพี่น้อง

8 – 10 ก.ค 48

โครงงานเลือกสรรผู้แทนนักศึกษาชั้นปีที่ 1

12 ก.ค 48

โครงงานเลือกสรรผู้แทน นศ. ชั้นปีที่ 1

12 ก.ค 48

โครงงานติวนักศึกษาชั้นปีที่ 1 เพื่อเตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค

14-20 ก.ค 48

โครงงาน แอปเปิลสีขาว

15 ก.ค 48

ค่ายฝึก STAFF - M

16 ก.ค 48

อบรมให้ความรู้ดาราศาสตร์เบื้องต้นครั้งที่ 1

16 – 17 ก.ค 48

โครงการเยาวชนไทยห่างไกลยาเสพติด

13 – 14 ส.ค 48

งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติส่วนภูมิภาค

18 - 20 ส.ค 48

โครงงานคณิตศาสตร์สัมพันธ์

21 ส.ค 48

โครงงานแนะนำภาควิชา(freshy day)

27 ส.ค 48

โครงการค่ายอาสาพัฒนาการศึกษาชุมชน

8 – 10 ต.ค. 48

โครงการบรรยายพิเศษ หัวข้อ “ความฝัน คุณภาพ และความสำเร็จ” โดย คุณบดินทร์ ลิมปพัทธ์

11 พ.ย. 48

กิจกรรมกีฬาและนันทนาการ

การแข่งขันบาสเก็ตบอลน้องใหม่

20 มิ.ย.48

โครงงานรับน้องขึ้นดอย

3 ก.ค 48

การแข่งขันกีฬาทางน้ำน้องใหม่

9 ก.ค.48

ฝึกซ้อมเทเบิลเทนนิส

28 ก.ค.-7 ส.ค.48

ฝึกสอนทักษะการว่ายน้ำขั้นพื้นฐาน

8 ส.ค.48

การแข่งขันตะกร้อระหว่างคณะ

17 ส.ค.-15 ก.ย.48

โครงงาน freshy night

27 ส.ค 48

การแข่งขันกีฬาทางน้ำระหว่างคณะ

8 ก.ย.48

โครงงาน กีฬาเชื่อมความสัมพันธ์ภายในภาควิชาชีววิทยา

5 – 6 พ.ย 48

โครงงาน Sports Day

26 พ.ย 48

โครงงาน Sport night

26 พ.ย 48

กิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและประเพณี

ไหว้ครูคณะ

16 มิ.ย 48

ประเพณีรับน้องขึ้นดอย

ปปปปป

โครงงานบายศรีสู่ขวัญและขันโตก

9 ก.ค 48

กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม

โครงงานค่ายบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคม

27 – 28 พ.ค 48

โครงงานปลูกป่าและพัฒนาสิ่งแวดล้อม

16-17 ก.ค 48

พัฒนาภาควิชา ชีววิทยา

17 ก.ค 48

โครงการพัฒนาคณะ

11 ก.ย 48

โครงงาน ค่ายวิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา ครั้งที่ 16

4 – 6 พ.ย 48

ค่ายวิทยาศาสตร์สัญจร ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

25 – 27 พ.ย 48

ค่ายฝึกวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ครั้งที่ 25

9 – 17 มี.ค 49

 

การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร
ในปีงบประมาณ 2548 ได้ให้การสนับสนุน โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรทั้งสิ้น ประมาณ 186 โครงการ เป็นเงินทั้งสิ้น 2,575,328.68 บาท โดยมีกิจกรรมหลักใน 3 ลักษณะคือ
1. การสนับสนุนงบประมาณแก่บุคลากรเพื่อไปศึกษาต่อ/ประชุม/ฝึกอบรม ทั้งในและ ต่างประเทศ
2. การจัดอบรม/สัมมนาบุคลากรเพื่อพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงาน
3. การจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศักยภาพของภาควิชา/หน่วยงานในภาพรวม เช่น การพัฒนาหลักสูตร การประกันคุณภาพการศึกษา
บุคลากรที่ลาศึกษาต่อในประเทศและต่างประเทศ ช่วงเดือนตุลาคม 2547 – เดือนกันยายน 2548 มีบุคลากรลาศึกษาต่อ จำนวน 16 คน ดังนี้

        • ปริญญาเอก 14 คน
        • ปริญญาโท 2 คน

การไปประชุม ดูงาน อบรม ต่างประเทศ

การพัฒนาระบบสารสนเทศ

      • จัดอบรมเรื่องการใช้ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ด้วย MySQL และการโอนถ่ายข้อมูล Microsoft Access เข้าฐานข้อมูล MySQL ผ่าน Access2MySQL
      • เขียนโปรแกรมและพัฒนาระบบการเบิกจ่ายวัสดุออนไลน์ พร้อมทั้งจัดอบรมให้กับบุคลากร
      • ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) ยี่ห้อ HP รุ่น Proliant ML150 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องแม่ข่ายสำหรับรองรับการทำงานของระบบ e-Office
      • ติดตั้งระบบโปรแกรม e-Office บันทึกรายชื่อผู้ใช้งาน จัดกลุ่มผู้ใช้งาน สายงานบังคับบัญชา พร้อมทั้งจัดอบรมให้กับบุคลากร
      • ติดตั้งจอพลาสมามอนิเตอร์ และระบบกระจายสัญญาณจอภาพสำหรับห้องประชุม 2 อาคาร 40 ปี คณะวิทยาศาสตร์
      • ซ่อมและแก้ไขระบบไฟเบอร์ที่ขาดเนื่องจากไฟฟ้าลัดวงจร พร้อมทั้งจัดทำเส้นทางสำรองการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายไฟเบอร์
      • ติดตั้งเครื่องพิมพ์ DESIGNIET 1050C Plus Plotter 1 ชุด เพื่อให้บริการจัดพิมพ์ภาพขนาดใหญ่ในงานต่าง ๆ เช่น โปสเตอร์สำหรับการเผยแพร่ผลงานการวิจัยของคณะ งานประชุมสัมมนาวิชาการ งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ และงานประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆ ของคณะ
      • ติดตั้งอุปกรณ์จัดหาเส้นทางบนระบบเครือข่าย (Router) CISCO 3825 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดหา และจัดสรรเส้นทางของข้อมูลในระบบเครือข่ายที่ดีขึ้น
      • ทำการเพิ่มประสิทธิภาพของการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายของภาควิชา โดยการเพิ่มอุปกรณ์กระจายสัญญาณเครือข่ายที่ภาควิชาและห้องสมุด เพื่อเพิ่มความเร็วที่สูงขึ้น
      • ติดตั้งระบบเครื่องสำรองไฟฟ้าสำหรับเครื่องแม่ข่ายและอุปกรณ์กระจายสัญญาณ เพื่อให้อุปกรณ์และเครื่องแม่ข่ายสามารถทำงานได้ในช่วงเวลาที่กระแสไฟฟ้าดับเป็นระยะเวลาประมาณ 3 ชั่วโมง
      • ติดตั้งระบบเครือข่ายไร้สายเพื่อให้บริการแก่นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร ที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัวได้ใช้บริการอินเตอร์เน็ตตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้นักศึกษา อาจารย์ บุคลากร ได้ค้นคว้า หาข้อมูลได้ตลอดเวลา
      • มีการใช้โปรแกรมบันทึกการลาออนไลน์ สำหรับบันทึกฐานข้อมูลการลาของบุคลากรเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลกลาง

การประกันคุณภาพการศึกษา
ในรอบปีที่ผ่านมา คณะวิทยาศาสตร์ได้ดำเนินการตามยุทธศาสตร์ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะฯ ที่กำหนดไว้ 4 ด้าน ได้แก่
1. ดำเนินการประกันคุณภาพภายในคณะฯ อย่างต่อเนื่องและทั่วองค์กร
2. ให้บุคลากรและนักศึกษามีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพ
3. ให้มีการดำเนินการประกันคุณภาพในรูปแบบการเทียบเคียงสมรรถนะ (benchmarking) ในด้านต่างๆ
4. พัฒนาให้การประกันคุณภาพเป็นวัฒนธรรมองค์กร

กิจกรรมการประกันคุณภาพ

      • สัมมนา เรื่อง “การจัดทำรายงานการประเมินตนเองและตัวบ่งชี้คุณภาพระดับสำนักงาน เลขานุการ ประจำปี 2548” (19 มกราคม 2548)
      • สัมมนา เรื่อง “การจัดทำรายงานการประเมินตนเองและตัวบ่งชี้คุณภาพระดับภาควิชา ประจำปี 2548” (21 มกราคม 2548)
      • การประชุมคณะกรรมการตรวจเยี่ยมฯ เพื่อซักซ้อมความเข้าใจร่วมกันก่อนการตรวจเยี่ยมและประเมินระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในคณะวิทยาศาสตร์ (25 มีนาคม 2548)
      • ดำเนินการตรวจเยี่ยมและประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาระดับภาควิชา/สำนักงานเลขานุการ ประจำปี 2548 ในระหว่างวันที่ 29 – 31 มีนาคม 2548
      • รับการตรวจสอบและประเมินระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาในระหว่าง วันที่ 30 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม 2548 ซึ่งผลการตรวจสอบและประเมินฯ อยู่ในลำดับขั้น “ดีมาก” ได้คะแนนรวม 83.7 คะแนน
      • โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาสถาบันอุดมศึกษาไทยด้วยกระบวนการ เทียบเคียงสมรรถนะ (Benchmarking)
      • การศึกษาดูงานด้านการบริหารจัดการและการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการเทียบเคียงสมรรถนะ ในวันที่ 13 – 16 มกราคม 2548 โดยศึกษาดูงาน ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
      • ในระดับภาควิชา มีการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน โดยมีการจัดประชุม สัมมนาเพื่อระดมความคิดเห็นและหาแนวปฏิบัติร่วมกันในภาควิชารวมทั้งติดตามและประเมินผลการดำเนินการประกันคุณภาพภายในภาควิชา