1. ชื่อหน่วยวิจัย |
สารกลิ่นหอมในผลไม้และอาหาร
Fruit and Food Aroma |
ภาควิชา : เคมี
2. สมาชิก : ประกอบด้วย
1. รองศาสตราจารย์ ดร. เกรียงศักดิ์ ไชยโรจน์ |
ผู้ประสานงานหน่วยวิจัย |
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุกัญญา มหาธีรานนท์ 3. อาจารย์วรลักษณ์ อังศุวรางกูร |
สมาชิก สมาชิก |
3. หลักการและเหตุผล
การวิจัยด้านสารกลิ่นหอมจากผลไม้เศรษฐกิจ เช่น มะม่วง ลำไย มังคุค เงาะ ทุเรียน และสารกลิ่นหอมที่ใช้กับอาหารจะช่วยทำให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการประกันคุณภาพของผลิตภัณฑ์เหล่านี้
4. วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
- ทำการวิจัยเพื่อหาองค์ประกอบของสารกลิ่นหอมที่เป็น Character impact compound ของผลไม้เศรษฐกิจและสารหอมระเหยที่ใช้กับอาหาร
-เป็นหน่วยงานวิจัยที่สนับสนุนโดย ADB ด้าน Post Harvest Technology
5. งานวิจัยหลักที่กำลังดำเนินการอยู่
-การศึกษาสารหอมระเหยให้กลิ่นมะม่วงของพันธุ์ต่าง ๆ ซึ่งเก็บในระยะเวลาต่างกัน
- ศึกษาวิเคราะห์สารหอมระเหยให้กลิ่นที่ใช้กับอาหาร
6. อุปกรณ์/เครื่องมือวิจัยที่มีอยู่แล้ว
- เครื่องมือสกัดสารหอมระเหยให้กลิ่นแบบ Simultaneous steam distillation and extraction
- เครื่องมือสกัดด้วยการกลั่นที่ความดันต่ำ
- เครื่อง Gas chromatograph-Mass speotrophotometer
7. ผลสัมฤทธิ์ทางการวิจัยจนถึงปัจจุบัน
ผลงานที่นำเสนอทางวิชาการ งานวิจัย และการประชุมต่าง ๆ ได้แก่
REFERED PUBLICATIONS :
1. G. Chairote, F.Rodriquez, S.Seck, and J.Crouzet, "Characterization of Additional Volatile Flavor components of Apricot", J.Food Sci.,45 (6), 1898 (1981).
2. G. Chairote, P.Panbangred, A.Shinmyo, and H.Okada, "Cloning and Expression of B-Xylosidase Gene of Bacillus pumillus in Escherichia coli", Annual report of ICME,5,211(1982).
3. G. Chairote, F.Rodriquez, S.Seck, and J.Crouzet, "Volatile Component ModificationDuring Heat Treatment of Fruit Juices", Instrumental Anal. of Food, 2, 119,(1983).
4. W.Panbangred, G.Chairote, A.Shinmyo, and H.Okada, "Enzyme System of Xylanhydrolysis in Bacillus pumilus and Gene Cloning in Escherichia coli", Microbial Utilization of Renewable Resources, 3, 37 (1983).
5. M. Kawakami, G.Chairote, and A.Kobayashi, "Flavor Constituents of Pickled tea,Miang in Thailand", Agric.Biol.Chem., 51(6),1683(1987).
6. G.Chairote, Volatile Constituents of fresh and Canned Longan(Euphoria longana Lam. CV.Edaeng),Food Science and Technology in Industrial Development,1989
7. เกรียงศักดิ์ ไชยโรจน์ การวิเคราะห์สารให้กลิ่นของถั่วเน่า รายงานการวิจัยทุนอุดหนุนการวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2531
8. เกรียงศักดิ์ ไชยโรจน์ การดัดแปลงสารไลโมนีนโดยกระบวนการทางชีวภาพรายงานการวิจัยทุนอุดหนุนการวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2535
INTERNATIONAL MEETING :
1. G.Chairote, "Composting of Dried Modified Anaerobic lagoon Sludge Open Windrow Piles", PPRTI Seminar on waste Resource Recovery Biotechnology and Pollution Control, PPRTI, Singapore, 1987.
2. G.Chairote, "Studies on Acid Proteinase of Carp Liver Part I and II", Seminar of Biochemistry, Sophia University, Tokyo,Japan, 1984.
3. G.Chairote, "Volatile Constituents of Toanao", 1st Princess Chulaporn Science Congress, Bangkok, 1987.
4. G.Chairote, "Volatile Constituents of Fresh and Canned Longan (Euphoria Longana Lam.CV. Edaeng.)", Asean Food Conference Bangkok, 1988.
5. G.Chairote, "Glucose Isomerase from Leuconostoc and Streptomyces Species", Seminar on Recent Advances and Future Prospects in Biotechnology, Bangkok, 1989.
6. G.Chairote, "Analysis of Volatile Aroma Compounds from "reow Hom", The 3rd International Conference on Science and Technology Transfer to Thailand, Bangkok, July 23-25, 1993.
NATIONAL MEETING :
1. G.chairote, "comparision of Volatile aroma Compounds of Fermented Soybean Before and Ater Fermentation", 1st Chemex THAI, Bangkok, 1989.
2. Pakawan Nongkunsarn, A. Wannagon and G. Chairote, "Fermented Soybean for Food Flavoring", 15th Conf.Sci.Tech. Thailand, 1989.
3. J. Intraprasert and G. Chairote,"Glucose Isomerase from Leuconostoc Sp. and Streptomyces sp.,"The 1st Aanual Meeting of the Thai Society for Biotechnology",Bangkok, December 13-15, 1989.
4. A. Srisonkompol and G. Chairote, Antifungal Activity from the Extract of Galanga (Languas galanga Linn.),21st Congress on Science and Technology of Thailand,1995
THESIS SUPERVISOR :
1. Apiradee Sarika,"The Study of Aroma in Fermented Tea Leaves", 1984.
2. Jariya Pitipornnarong,"Studies on Odored Compounds of Fresh and Canned Longan (Euphoria longana Lam.cv.Edaeng)", 1988.
3. Suthita Sangkam,"Studies of Glucose Isomerase, Invertase and Some Carbohydrates from Microorganism Isolated from Sugar Industrial Waste", 1988.
4. Somkiat Kruaysawat,"Identificationof Volatile Aroma Compounds in Soybean", 1989.
5. Junpen Intaraprasert,"Extraction and Purification of Glucose Isomerase Leuconostoc.sp. and Streptomyces.sp.", 1989. 6. A. Srisonkompol, Antifungal Compounds from the Extract of galanga (Languas galanga Linn.),Put(Ashcrasma sp.) and Sakan(Piper ribisoides Wall.),1995
7. Saranyu Khammuang "Purification and Kinetic Characterization of Glutathione s-Transferase from the Mosquito Anopheles dirus B," 1996.
BOOK EDITOR :
1. เกรียงศักดิ์ ไชยโรจน์ เอนไซม์ จุลินทรีย์ และเอนไซม์จากจุลินทรีย์ในอาหาร ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสาตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2526
2. เกรียงศักดิ์ ไชยโรจน์ อโรมา กลิ่นหอมระเหยจากผลไม้ ภาควิชาเคมี คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2531
3. เกรียงศักดิ์ ไชยโรจน์ การสกัดและแยกสารระเหย ภาควิชาเคมี คณะ วิทยาศาตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2531