1. ชื่อหน่วยวิจัย

หน่วยวิจัยหินอัคนีและแร่เศรษฐกิจที่เกี่ยวข้อง

Igneous Rocks and Related Ore Deposits Research Unit

ภาควิชา : ธรณีวิทยา

2. สมาชิก : ประกอบด้วย

1. นายยืนยง ปัญจสวัสดิ์วงศ์

ผู้ประสานงานหน่วยวิจัย

2. นายกิตติศัพท์ เรืองวัฒนาศิริกุล

3. นายบูรพา แพจุ้ย

สมาชิก

สมาชิก

3.หลักการและเหตุผล

1. เก็บรวบรวมข้อมุลอย่างเป็นระบบ เนื่องจากข้อมูลในปัจจุบันมีมากและกระจัดกระจาย ไม่สามารถนำมาใข้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่

2. วิเคราะห์ที่มาของข้อมูล เพื่อความถูกในการแปลความหมายของข้อมูลที่มีอยู่แล้ว

3. ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อให้ผลการวิจัยมีความสมบูรณ์ในตัวเอง

4. ศึกษาวิวัฒนาการการกำเนิดของหินอัคนีและแหล่งแร่ที่เกี่ยวข้อง ด้วยการแปลความ หมายจากข้อมูลที่มีอยู่แล้ว

5. ประเมินศักยภาพของแหล่งแร่ และเผยแพร่แก่ผู้ที่สนใจ เพื่อผลในการพัฒนาทาง ด้านเศรษฐกิจของประเทศ

4. วัตถุประสงค์และเป้าหมาย

1.ศึกษาวิวัฒนาการการกำเนิดของหินอัคนีและแหล่งแร่ที่เกี่ยวข้อง จากลักษณะทางกายภาพ ศิลา-วรรณนา และธรณีเคมี เพื่อให้ทราบที่มาของต้นกำเนิด และสภาวะแวดล้อมที่ทำให้มีการเกิดของแหล่งแร่

2.ศึกษาการแพร่กระจายของแหล่งแร่ในหินอัคนี เพื่อเปรียบเทียบลักษณะทางกายภาพ ศิลาวรรณนา และธรณีเคมี ระหว่างหินอัคนีที่เกี่ยวข้องและไม่เกี่ยวข้องกับแหล่งแร่ เพื่อกำหนดบริเวณที่มีศักยภาพทางแร่ สำหรับเป็นแนวทางในการสำรวจ และพัฒนาให้เป็นแหล่งแร่ทางเศรษฐกิจ

3.ผลการวิจัยที่เสร็จสิ้นแล้วจะใช้เป็นแม่แบบในการศึกษาศักยภาพของแหล่งแร่ชนิดอื่น ๆ ในประเทศไทย

5. งานวิจัยหลักที่กำลังดำเนินการอยู่

1. ศึกษาการแผ่กระจายของหินอัคนีและแหล่งแร่ที่เกี่ยวข้อง

2. ศึกษาลักษณะทางศิลาวรรณนา และธรณีเคมีของหินอัคนี

6. อุปกรณ์/เครื่องมือวิจัยหลักที่มีอยู่แล้ว

1. กล้องจุลทรรศน์

2. เครื่องบดหิน

3. ครื่องทำแผ่นหินบาง

7. ผลสัมฤทธิ์ทางการวิจัยจนถึงปัจจุบัน

ตั้งแต่รายงานผลสัมฤทธิ์ปีก่อน ผลสัมฤทธิ์ทางการวิจัยใหม่ มีดังนี้คือ

7.1 ผลงานที่เสนอในการประชุมวิชาการในประเทศ

7.2 ผลงานที่เสนอในการประชุมวิชาการต่างประเทศ

(1) Ophiolites, ocean crust, and the Nan Suture in NE Thailand: International Symposium on Lithosphere Dynamics of East Asia - Geology, Energy and Mineral Resources of the Indochina Region, 1996, Taipei, Program and Extended Abstracts, p. 84-89.

(A paper presented at International Symposium on Lithosphere Dynamics of East Asia - Geology, Energy and Mineral Resources of the Indochina Region, 19th-23rd April 1996, Taipei).

7.3 การเข้าร่วมประชุมวิชาการในประเทศ

7.4 การเข้าร่วมประชุมวิชาการต่างประเทศ

7.5 งานวิจัย

(1) Chiang Khong Corundum-bearing basalt,, Amphoe Chiang Khong, Changwat Chiang Rai (ตีพิมพ์ใน Journal of Science Faculty, CMU., v. 23 (1996), p. 39-52.)

7.6 งานบริการทางวิชาการ

(1) ตรวจสอบแผ่นหินขัดมันแก่กรมศุลกากร

(2) ช่วยนักธรณีวิทยาจากทรัพยากรธรณีเขต 3 ตรวจสอบหินภายใต้กล้องจุลทรรศน์

(3) ช่วยบริษัทนำเที่ยวตรวจสอบตัวอย่างหินในแหล่งท่องเที่ยว

//การวิจัย / ห้องปฏิบัติการวิจัยและหน่วยวิจัย